มัน มากินข้าว ข้างหลัง มากัน 2 คน...
ทำเป็น ด่า ทักษิณ พวกรักทักษิณ มีแต่พวกลาวโง่
ด่า ย้ำไป ย้ำมา ดัง ๆๆ ( คือมัน ด่ารดหัวเรานั้นและ วอนตีน )
ผม ก็ เลยไปเตือนที่หนึ่ง ก็เงียบไป ...
พอสักพักเอาอีก... ที่นี้
ผมหันไปดู มันไม่มีใครเลย...นี้หว้า
แบบนี้ มันชัดเจน... ไอ้เหี้ย ควายเหลือง ขี้เปี่ยก ไอ้แป๊ะลิ้ม คนหลบหนี้เข้าเมือง
พอทำหน้าเอาเรื่อง ทำ คว้าซ่อมมา ผม ก็คว้าบาง
แต่มันกลัวผม ยอมให้ผมด่ามันกลับ มันก็รอดไป...
จริง ๆๆ ผมไม่ได้อยากไปทะเลากับ กุ๊ย โสโครก แบบนี้หรอก
แต่พวกนี้ จะต้องมีคนเสี้ยม มาอีกที... แถว โก้วบ้อ นี้ พวกนี้ มีเยอะ
ัสนตะพายได้... เป็นคนดี ๆๆ ไม่ชอบ ชอบเป็นหมา
พฤติกรรม เหี้ย ๆๆ แบบนี้ นั้น เป็น กลยุทธ กลวิธี ประจำครอบครัวและเผยแพร่ไปที่ทำงาน บุคคล รอบ ๆๆ ตัว ทั่วไปหมด ละครับ... คนพวกนี้ คงเป็น โรคจิตชนิดหนึ่ง
ได้ เสี้ยมคนได้ ได้บ่งการคนได้ ก็จะสนุกสนาน เฮฮา... กัน
เค้าจะเสี้ยบสอน สืบ ๆๆ กันไป พฤติกรรมแบบนี้ ทำกับผม มานมนาน
เกือบ 20 ปี แล้วละ ครับ... ชิน อยู่บาง
เค้าบอกว่า มันเป็น วิชาการปกครอง.... ไว้เล่นงาน กดหัว คน
โดยยืมมือคน ชั้นต่ำ ส่วนตัวเอง จะเป็น อีแอบ หลบอยู่ข้างหลัง
ค่อยให้ท้าย ยกหาง ให้เพาเวอร์ ให้อินฟรวยน์
วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2553
วันอาทิตย์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2553
# ทำบุญ มค. 2553
ช่วยเหลือ ภัยพิบัติ ใน เฮติ
++++++++++++++++++++++++++
http://board.palungjit.com/f105/%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%97%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%B2-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%8A%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%94-222995-2.html
ขอเชิญร่วมบุญสร้างห้องน้ำทดแทนหลังเก่า(ที่ชำรุด)
ธนาคารกรุงไทย สาขาบำเหน็จณรงค์ ออมทรัพย์
ชื่อบัญชี พระธนนท์ ธฺมมสาโร
เลขที่บัญชี 318-0-22031-7
โทรสอบถามที่เบอร์ 083-7348224 (ทุกวันเวลา)
*********************************
http://board.palungjit.com/f109/%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%8E%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99-%E0%B8%88%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%9A%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%9E%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%8C-%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%A1-%E0%B8%88-%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87-222073-2.html
ขอเชิญร่วมสร้างพระไตรปิฎกรุ่น"จบกิจจบชาติสิ้นภพสิ้นทุกข์"วัดควนอินทนินงาม จ.ตรัง
โดยร่วมบุญได้ที่
ธ.กรุงไทย ประเภทออมทรัพย์ สาขาตรัง
เลขบัญชี 9031947032
ชื่อบัญชี นายศรีศักดิ์ รักษ์สุวรรณ
**********************************
http://board.palungjit.com/f135/%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%84-upgrade-ram-32-gb-%E0%B9%83%E0%B8%99-2-servers-%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89-223463-4.html
เชิญร่วมบริจาค Upgrade Ram 32 GB ใน 2 Servers เพื่อแก้ไขเว็บช้าเข้าไม่ได้
ร่วมบริจาคทำบุญโอนได้ที่บัญชี
ธนาคารไทยพาณิชย์
Siam Commercial Bank (SCB)
สาขา : เซ็นทรัล รัตนาธิเบศร์
เลขที่บัญชี : 365 - 215 048 - 7
ชื่อบัญชี : Yosutee Thakana
++++++++++++++++++++++++++
http://board.palungjit.com/f105/%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%97%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%B2-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%8A%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%94-222995-2.html
ขอเชิญร่วมบุญสร้างห้องน้ำทดแทนหลังเก่า(ที่ชำรุด)
ธนาคารกรุงไทย สาขาบำเหน็จณรงค์ ออมทรัพย์
ชื่อบัญชี พระธนนท์ ธฺมมสาโร
เลขที่บัญชี 318-0-22031-7
โทรสอบถามที่เบอร์ 083-7348224 (ทุกวันเวลา)
*********************************
http://board.palungjit.com/f109/%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%8E%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99-%E0%B8%88%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%9A%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%9E%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%8C-%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%A1-%E0%B8%88-%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87-222073-2.html
ขอเชิญร่วมสร้างพระไตรปิฎกรุ่น"จบกิจจบชาติสิ้นภพสิ้นทุกข์"วัดควนอินทนินงาม จ.ตรัง
โดยร่วมบุญได้ที่
ธ.กรุงไทย ประเภทออมทรัพย์ สาขาตรัง
เลขบัญชี 9031947032
ชื่อบัญชี นายศรีศักดิ์ รักษ์สุวรรณ
**********************************
http://board.palungjit.com/f135/%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%84-upgrade-ram-32-gb-%E0%B9%83%E0%B8%99-2-servers-%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89-223463-4.html
เชิญร่วมบริจาค Upgrade Ram 32 GB ใน 2 Servers เพื่อแก้ไขเว็บช้าเข้าไม่ได้
ร่วมบริจาคทำบุญโอนได้ที่บัญชี
ธนาคารไทยพาณิชย์
Siam Commercial Bank (SCB)
สาขา : เซ็นทรัล รัตนาธิเบศร์
เลขที่บัญชี : 365 - 215 048 - 7
ชื่อบัญชี : Yosutee Thakana
วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2553
ตีแผ่! วิธีการที่แกนนำ พธม. ใช้ในการชี้นำกองเชียร์ เปิดเผยเบื้องลึก
ท่านเคยสงสัยหรือไม่ เหตุใด บุคคลรอบข้างท่าน โดยเฉพาะชนชั้นกลาง
ถึงได้เชื่อ พธม.แบบทุ่มสุดตัว
แม้กระทั่งบุคคลระดับที่สามารคเรียกได้ว่าเป็น ปัญญาชน เหตุใดถึงได้คลั่ง
พธม. เสียมากมาย
ผมจะตีแผ่ วิธีการ ที่แกนนำ พธม. ใช้ในการปลุกปั่นมวลชนคนเสื้อเหลือง
ให้หลงเชื่อ ถวายตัว ถวายหัว ทุ่มสุดตัว ทุ่มสุดใจ จากประสบการณ์
ที่เฝ้าดูพธม. ติดตามความเคลื่อนไหว และวิธีการที่ใช้ตลอดมา.
สนธิ ลิ้มทองกุล สื่อมวลชนโดยหน้าที่ บุคคลคนนี้ฝีมือไม่ธรรมดา
เรื่องทฤษฎีการสื่อสารมวลชน เขาได้นำมาใช้แทบทุกแง่มุม
ไม่ เว้นแม้แต่ สิ่งที่เป็นด้านมืดของสื่อมวลชน
เขาไม่ลังเลที่จะหยิบมันมาใช้
ถ้ามันเป็นวิธีที่ทำให้ไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ เขาจะใช้มันโดยทันที
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เคยกล่าวไว้ว่า
"If you tell a big enough lie and tell it frequently enough, it will
be believed."
"หากท่านโกหกเรื่องใหญ่มากพอ, โกหกบ่อยครั้งเพียงพอ, เรื่องนั้นจะถูกเชื่อ"
นี่คือหลัก นี่คือหัวใจที่ สนธิ ใช้ในการปลุกปั่นมวลชนมาโดยตลอด จาก
นั้นก็ใช้การโฆษณาชวนเชื่อ(propaganda) เพื่อที่จะสร้างระบบจิตวิทยามวลชน
อุปาทานหมู่ เพื่อชี้นำความคิดมวลบชนไปยังความต้องการของตน
เทคนิคการโฆษณาชวนเชื่อ(Propaganda Techniques) อาจสรุปลงง่ายๆ 7 ข้อ ได้แก่
1. Ad Hominem : โจมตีตัวบุคคล
สร้างศัตรูบุคคลขึ้นมาเป็นหุ่นรับการโจมตีหลัก แล้วจับผิด โจมตี ด่าทอ
ต่อว่า ทั้งเรื่องส่วนตัว
และคำพูดทุกคำพูดของคนๆนั้น
รวมถึงการสร้างภาพให้ฝ่ายศัตรูที่ตั้งขึ้นมาโจมตีเป็นปีศาจร้าย
เปรียบเทียบกับความชั่วร้ายในโลกทั้งมวล
ทั้งในพระคัมภีร์ศาสนาและประวัติศาสตร์
ตัวอย่าง เช่น การโจมตีทักษิณว่าต้องการโค่นล้มสถาบัน
การลากโยงว่ามีความสัมพันธุ์ในเชิงชู้สาวกับนักร้องรุ่นลูก การว่าเป็น:-)
เป็นเทวทัตกลับชาติมาเกิด
2. Ad nauseum : พูดซ้ำแล้วซ้ำอีก มีสุถาษิตไทยบทหนึ่งว่า
"อันเสาหินแปดศอกตอกเป็นหลัก ไปมาผลักบ่อยเข้าเสายังไหว"
กระบวนการปราศัยของ แกนนำ พธม. จะมีวิธีการหนึ่งเรียกว่า
พูดซ้ำแล้วซ้ำอีก โจมตีจุดเดียวในแต่ละวันที่ขึ้นเวที
เดี๋ยวมันก็เชื่อเอง
วิธีการ พธม. จะใช้คนพูดในระดับรองๆ ที่ไม่ได้เด่นดังมากนัก
ขึ้นพูดในช่วงเย็นๆก่อน เพื่อหยั่งกระแสดูท่าทีว่ากองเชียร์รู้สึกอย่างไร
ถ้า มีแนวโน้มว่าจะเชื่อเรื่องไหน วันนั้น คนพูดระดับแม่เหล็กคนต่อๆ มา
ก็จะพูดเรื่องนั้นซ้ำไปซ้ำมา กันทุกคน แต่จะทำให้ดูเหมือนมีระบบ ก็คือ
แต่ละคนจะพูดเรื่องเดียวกัน แต่คนละแง่ เช่นในแง่ของสังคม
ในแง่ของเศรษฐกิจ ในแง่ของวัฒนธรรม แต่ทั้งหมดล้วนแล้วแต่
"เป็นการพูดเท็จ ซ้ำไปซ้ำมา" จนกระทั้งทำให้ความคิดของกองเชียร์เปลี่ยนไป
เช่น จากคิดว่า "ไม่ใช่" กลายเป็น "ลังเล" เข้าสู่ "ไม่แน่ใจ 50 50"
ผันไป "น่าจะใช่ 80 20" สุดท้าย "ใช่แน่ๆ 100%"
3. Big Lie : โกหกคำโต โยเซฟ เกิบเบิลส์(1897-1945)
รัฐมนตรีกระทรวงโฆษณาการ(minister of propaganda) มือขวาของฮิตเลอร์
กล่าวว่า
"The bigger the lie, the more it will be believed."
"ยิ่งโกหกคำโตเท่าไร, มันยิ่งน่าเชื่อไปเท่านั้น" และ
"The great masses of people will more easily fall victims to a big lie
than to a small one."
"ฝูงชนมหาศาลถูกหลอกด้วยการโกหกเรื่องใหญ่ ง่ายกว่าโกหกเรื่องเล็กๆ"
การ โกหกเรื่องเล็กๆที่มีรายละเอียดปลีกย่อย อาจมีผู้จับโกหกได้ง่าย
แต่การโกหกเรื่องใหญ่ๆเพื่อหลอกให้เชื่อ
มันย่อมครอบคลุมเรื่องต่างๆหลากหลาย อย่างน้อยต้องมีข้อใดข้อหนึ่งที่
ถูกจริตผู้ฟัง และเมื่อคนพูดพูดในสิ่งที่คนฟังอยากจะเชื่ออยู่แล้ว
เขาก็พร้อมจะยอมเชื่อโดยดี แม้ว่าคำโกหกเรื่องใหญ่นั้น จะเท็จครึ่ง
จริงครึ่ง หรือไม่มีแม้แต่เศษเสี้ยวของความจริงอยู่เลย
ตัวอย่าง ที่เห็นได้ชัดก็คือ ปฏิญญามือถือ เรื่องที่ฮาสุดคลาสิค
"ปฏิญญาฟินแลนด์" เป็นเรื่องที่โกหกได้ยิ่งใหญ่
แต่แหกตากองเชียร์ได้ผลมากมาย เกิดผลกับสังคมได้อย่างรุนแรงพอสมควร
กินเวลาอยู่หลายอาทิตย์ กว่าจะมีการออกมาแก้เกมส์ ว่าจริงๆ มันเป็นเรื่อง
"โจ๊กใส่ไข่ ใส่ผักชี" ลอง ดูปัจจุบันซิครับ มีใครคนไหนในแกนนำ พธม
กล้าเอ่ยเรื่องนี้บ้าง มีกองเชียร์คนไหนกล้าถกเรื่องนี้บ้าง แต่ละคน
"ทำเป็นลืม กันเสียหน้า" ว่าพลาดที่ไปเชื่อ
4. Name calling : สร้างสมญานาม การสร้างชื่อแทนใช้เรียกย่อๆ ง่ายๆ
และตีความได้เข้าข้างตัวเอง หรือสร้างภาพเสียหายให้ศัตรู
เป็นเทคนิคของการโฆษณาชวนเชื่ออย่างหนึ่ง
เช่น ระบอบทักษิณ ทุนนิยมสามานย์ หรือแม้แต่กระทั่งชื่อ
พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ที่ฟังดูดี ฟังว่าทำเพื่อประชาธิปไตย
ทั้งๆ ที่การกระทำนั้น ทำลายระบอบประชาธิปไตยอย่างรุนแรง
5. Black and White fallacy : ตรรกะผิด-ถูก แบบขาว-ดำ ผู้โฆษณาชวนเชื่อ
ต้องสร้างภาพการแบ่งแยกฝ่ายถูกผิดชัดเจนเป็นสีขาว-ดำ
ใครเข้าข้างจะเป็นฝ่ายถูกฝ่ายธรรมะ
ส่วนใครไม่เห็นด้วยก็จะถูกผลักไปเป็นฝ่ายผิด เป็นฝ่ายอธรรมทันที
ในความเป็นจริงแล้ว เรามีแต่สีเทา จะเทามากหรือเทาน้อย
ก็แล้วแต่ว่าเงื่อนไขใด ในทางอุดมคติเราต่างก็แสวงหาความดี
ความถูกต้องตาม หลักคำสอนทางจริยธรรมและศีลธรรมอยู่เสมอ
เมื่อแกนนำให้เข้าร่วมกับความถูกต้องชัดเจนย่อมไม่แปลกที่
จะหลงเชื่อในสิ่งที่แกนนำกล่าวอย่างง่ายดายและอาจไม่ฉุกคิดเลยว่า
สิ่งที่แกนนำพูดไม่ตรงกับการกระทำอย่างใดเลย
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด "เราทำเพื่อพ่อ เราทำเพื่อสถาบัน
ใครไม่อยู่ข้างเรา มันผู้นั้น ทรยศต่อชาติ ราชบัลลังค์ ใช่ไม่ใช่พี่น้อง"
ทั้งๆ ที่ไม่เคยอะไรเชิงสร้างสรรค์ ในการแสดงออกเรื่องการรักสถาบัน
การรักชาติ ขนาดขบวนเสด็จยังไม่ให้ผ่าน ม๊อบไม่หลีกทางให้
6. Flag Waving, Beautiful thing, and Great People reference :
ชูธงสูงส่ง อ้างสิ่งสวยงาม ตามหลักมหาบุรุษ
การโฆษณาชวนเชื่อนั้นจะอ้างตนเองและกลุ่ม แนว คิดของตน ให้ดูยิ่งใหญ่
สูงส่ง อลังการ มีคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม ด้วยคำพูดและป้ายประกาศ
ใช้ข้อความที่ดูดี อ้างอิงสิ่งเหนือธรรมชาติหรือนามธรรมที่คนยอมรับว่าดี
เช่นเทพเจ้า พระเจ้า เทพยดา อ้างแนวทางของบุคคลในประวัติศาสตร์
ศาสดาที่ยิ่งใหญ่ เช่น พระพุทธเจ้า พระมะหะหมัด พระคริสต์ มหาตมะคานธี
อับราฮัม ลินคอล์น อ้างพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ ฯลฯ แต่
การอ้างดังกล่าวแตกต่างไปจากการเผยแผ่หรือโน้มนำที่ดีตามปกติ
ด้วยว่าการโฆษณาชวนเชื่อ
จะนำภาพลักษณ์ที่ดูสูงส่งสวยงามเหล่านั้นมาบิดเบือนให้เข้าข้างแนวคิดของตน
ตัวอย่าง เช่น สนธิอ้างว่า ได้นั่งทางใน เป็นผู้วิเศษ ปะพรมน้ำมนต์
เพื่อให้ภาพลักษณ์ตัวเองดูเป็นผู้วิเศษ
ตอกย้ำความเชื่อสาวกให้ศรัทธาเลื่อมใส และ
แกนนำพธม.มักจะอ้างหลักทางพุทธศาสนา ว่าพวกพธม. เป็นกองทัพธรรมที่สูงส่ง
แต่ทักษิณเป็นซาตาน เป็นเทวทัต กลับมาชาติมาเกิด แบบนี้อยู่เนืองๆ
7. Disinformation by mass media : ควบคุมกำจัดข้อมูลผ่านสื่อสารมวลชน
การ บอกข้อมูลไม่ครบ บอกความจริงไม่หมด
เลือกแต่เฉพาะข้อมูลหรือข่าวที่ส่งผลดีต่อฝ่ายตนเอง ใช้การอ้างนอกบริบท
หรือนำคำพูดที่ไม่เกี่ยวข้องกันมาแต่งเติมเสริมเข้าไปให้ดูดี
ยิ่งใช้สื่อมวลชนที่เข้าถึงคนหมู่มาก ยิ่งบอกผ่านกันไปปากต่อปาก
และยิ่งดูน่าเชื่อถือ หลายๆคนพอตั้งข้อสงสัย ก็ถูกตอบว่า
"ก็ทีวีว่ามาอย่างนี้" "ก็นักวิชาการท่านโน้น ท่านนี้บอกมาอย่างนี้"
วิธี นี้เป็นวิธีที่ แกนนำ พธม.ใช้บ่อยที่สุด โดยเฉพาะเรื่องการบอกไม่ครบ
แม้กระทั่งปัจจุบันยังนำมาใช้ในการบิดเบือนข่าวสาร โดยไม่ลงเนื้อหาให้ครบ
ทำให้คนเข้าใจผิดแม้กระทั่งในม๊อบ ก็ยังใช้วิธีการบอกต่อ แบบปากต่อปาก
ว่าแกนนำได้รับการสนับสนุนจากคนโน้นคนนี้ ว่าทักษิณทำอย่างโน้นอย่างนี้
แบบที่พูดบนเวทีไม่ได้พธม. จะมีหน่วยหน้าม้า กระจายข่าวในกลุ่ม
ในหมู่กองเชียร์ เพื่อชี้นำความคิดไปในทิศทางของตน
วิธีการโฆษณาชวนเชื่อ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกับกองเชียร์ พธม.
ที่หลงเชื่อเป็นอันมาก
มัน ทำให้ตรรกะของกองเชียร์บิดเบี้ยวโดยไม่รู้ตัว
กองเชียร์จะเห็นคนอื่นที่ไม่ใช่ พธม. ด้วยกัน เป็นคนผิดหมด เป็นคนโง่
รู้ไม่เท่าทันเหมือนตนหนักเข้า กองเชียร์ก็จะโดนแกนนำโน้มน้าวว่าให้ปิดหู
ปิดตา ไม่ต้องดูสื่ออื่นๆ นอกจากสื่อที่แกนนำบอกให้ดู
ซึ่งกองเชียร์ก็เชื่อ ดูข่าวจากแหล่งเดียวและเชื่อโดยทันที
หรือแม้กระทั้งกองเชียร์บางคนกลาย เป็นคนใช้ถ้อยคำหยาบคาย ด่าทอ เสียดสี
คนที่ไม่เห็นด้วย ทั้งๆที่ไม่เคยมี พฤติการ หรือนิสัยหยาบคายมาก่อน
กองเชียร์พร้อมบริจาค ทุ่มเททั้งกำลังกายและทรัพย์สินให้กับแกนนำ
โดยไม่เหลือให้ตัวเองและครอบครัว ไม่คิดหน้าคิดหลัง ให้จนสุดตัว
บ้าจนหมัดตัว ทุ่มจนสุดใจ ซึ่งกว่าจะรู้ตัว สิ่งแวดล้อม สังคม
เพื่อนฝูงของกองเชียร์แฟนพันธุ์แท้เหล่านี้
ก็จะเหลือเพียงคนที่เป็นกองเชียร์ด้วยกันเท่านั้น เพื่อนฝูง ญาติพี่น้อง
ที่เคยคบหากันด้วย ต่างก็หลบลี้หนีหน้า
มันช่างน่าสงสารเสียจริงๆ รักชาติจนป่นปี้ รู้ทันจนบรรลัย...
*ข้อสังเกต บรรดาแฟนพันธุ์แท้ของ พธม. ที่หลงเหลืออยู่ พวกเหนียวแน่น
จะมีคุณสมบัติหนึ่งที่คล้ายคลึงกันคือ เป็นพวก รู้แบบครึ่งๆ กลางๆ
รู้ไม่จริง ซะเป็นส่วนมาก และใครแตะต้องวิจารณ์แกนนำไม่ได้เด็ดขาด
จะต้องปฏิบัติการโต้ตอบแบบอดรนทนไม่ไหว ตามแต่วิธีการ
จากคุณ : ปูอิศรีย์1
http://www.pantip.com/cafe/rajdumnern/topic/P8770759/P8770759.html
ถึงได้เชื่อ พธม.แบบทุ่มสุดตัว
แม้กระทั่งบุคคลระดับที่สามารคเรียกได้ว่าเป็น ปัญญาชน เหตุใดถึงได้คลั่ง
พธม. เสียมากมาย
ผมจะตีแผ่ วิธีการ ที่แกนนำ พธม. ใช้ในการปลุกปั่นมวลชนคนเสื้อเหลือง
ให้หลงเชื่อ ถวายตัว ถวายหัว ทุ่มสุดตัว ทุ่มสุดใจ จากประสบการณ์
ที่เฝ้าดูพธม. ติดตามความเคลื่อนไหว และวิธีการที่ใช้ตลอดมา.
สนธิ ลิ้มทองกุล สื่อมวลชนโดยหน้าที่ บุคคลคนนี้ฝีมือไม่ธรรมดา
เรื่องทฤษฎีการสื่อสารมวลชน เขาได้นำมาใช้แทบทุกแง่มุม
ไม่ เว้นแม้แต่ สิ่งที่เป็นด้านมืดของสื่อมวลชน
เขาไม่ลังเลที่จะหยิบมันมาใช้
ถ้ามันเป็นวิธีที่ทำให้ไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ เขาจะใช้มันโดยทันที
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เคยกล่าวไว้ว่า
"If you tell a big enough lie and tell it frequently enough, it will
be believed."
"หากท่านโกหกเรื่องใหญ่มากพอ, โกหกบ่อยครั้งเพียงพอ, เรื่องนั้นจะถูกเชื่อ"
นี่คือหลัก นี่คือหัวใจที่ สนธิ ใช้ในการปลุกปั่นมวลชนมาโดยตลอด จาก
นั้นก็ใช้การโฆษณาชวนเชื่อ(propaganda) เพื่อที่จะสร้างระบบจิตวิทยามวลชน
อุปาทานหมู่ เพื่อชี้นำความคิดมวลบชนไปยังความต้องการของตน
เทคนิคการโฆษณาชวนเชื่อ(Propaganda Techniques) อาจสรุปลงง่ายๆ 7 ข้อ ได้แก่
1. Ad Hominem : โจมตีตัวบุคคล
สร้างศัตรูบุคคลขึ้นมาเป็นหุ่นรับการโจมตีหลัก แล้วจับผิด โจมตี ด่าทอ
ต่อว่า ทั้งเรื่องส่วนตัว
และคำพูดทุกคำพูดของคนๆนั้น
รวมถึงการสร้างภาพให้ฝ่ายศัตรูที่ตั้งขึ้นมาโจมตีเป็นปีศาจร้าย
เปรียบเทียบกับความชั่วร้ายในโลกทั้งมวล
ทั้งในพระคัมภีร์ศาสนาและประวัติศาสตร์
ตัวอย่าง เช่น การโจมตีทักษิณว่าต้องการโค่นล้มสถาบัน
การลากโยงว่ามีความสัมพันธุ์ในเชิงชู้สาวกับนักร้องรุ่นลูก การว่าเป็น:-)
เป็นเทวทัตกลับชาติมาเกิด
2. Ad nauseum : พูดซ้ำแล้วซ้ำอีก มีสุถาษิตไทยบทหนึ่งว่า
"อันเสาหินแปดศอกตอกเป็นหลัก ไปมาผลักบ่อยเข้าเสายังไหว"
กระบวนการปราศัยของ แกนนำ พธม. จะมีวิธีการหนึ่งเรียกว่า
พูดซ้ำแล้วซ้ำอีก โจมตีจุดเดียวในแต่ละวันที่ขึ้นเวที
เดี๋ยวมันก็เชื่อเอง
วิธีการ พธม. จะใช้คนพูดในระดับรองๆ ที่ไม่ได้เด่นดังมากนัก
ขึ้นพูดในช่วงเย็นๆก่อน เพื่อหยั่งกระแสดูท่าทีว่ากองเชียร์รู้สึกอย่างไร
ถ้า มีแนวโน้มว่าจะเชื่อเรื่องไหน วันนั้น คนพูดระดับแม่เหล็กคนต่อๆ มา
ก็จะพูดเรื่องนั้นซ้ำไปซ้ำมา กันทุกคน แต่จะทำให้ดูเหมือนมีระบบ ก็คือ
แต่ละคนจะพูดเรื่องเดียวกัน แต่คนละแง่ เช่นในแง่ของสังคม
ในแง่ของเศรษฐกิจ ในแง่ของวัฒนธรรม แต่ทั้งหมดล้วนแล้วแต่
"เป็นการพูดเท็จ ซ้ำไปซ้ำมา" จนกระทั้งทำให้ความคิดของกองเชียร์เปลี่ยนไป
เช่น จากคิดว่า "ไม่ใช่" กลายเป็น "ลังเล" เข้าสู่ "ไม่แน่ใจ 50 50"
ผันไป "น่าจะใช่ 80 20" สุดท้าย "ใช่แน่ๆ 100%"
3. Big Lie : โกหกคำโต โยเซฟ เกิบเบิลส์(1897-1945)
รัฐมนตรีกระทรวงโฆษณาการ(minister of propaganda) มือขวาของฮิตเลอร์
กล่าวว่า
"The bigger the lie, the more it will be believed."
"ยิ่งโกหกคำโตเท่าไร, มันยิ่งน่าเชื่อไปเท่านั้น" และ
"The great masses of people will more easily fall victims to a big lie
than to a small one."
"ฝูงชนมหาศาลถูกหลอกด้วยการโกหกเรื่องใหญ่ ง่ายกว่าโกหกเรื่องเล็กๆ"
การ โกหกเรื่องเล็กๆที่มีรายละเอียดปลีกย่อย อาจมีผู้จับโกหกได้ง่าย
แต่การโกหกเรื่องใหญ่ๆเพื่อหลอกให้เชื่อ
มันย่อมครอบคลุมเรื่องต่างๆหลากหลาย อย่างน้อยต้องมีข้อใดข้อหนึ่งที่
ถูกจริตผู้ฟัง และเมื่อคนพูดพูดในสิ่งที่คนฟังอยากจะเชื่ออยู่แล้ว
เขาก็พร้อมจะยอมเชื่อโดยดี แม้ว่าคำโกหกเรื่องใหญ่นั้น จะเท็จครึ่ง
จริงครึ่ง หรือไม่มีแม้แต่เศษเสี้ยวของความจริงอยู่เลย
ตัวอย่าง ที่เห็นได้ชัดก็คือ ปฏิญญามือถือ เรื่องที่ฮาสุดคลาสิค
"ปฏิญญาฟินแลนด์" เป็นเรื่องที่โกหกได้ยิ่งใหญ่
แต่แหกตากองเชียร์ได้ผลมากมาย เกิดผลกับสังคมได้อย่างรุนแรงพอสมควร
กินเวลาอยู่หลายอาทิตย์ กว่าจะมีการออกมาแก้เกมส์ ว่าจริงๆ มันเป็นเรื่อง
"โจ๊กใส่ไข่ ใส่ผักชี" ลอง ดูปัจจุบันซิครับ มีใครคนไหนในแกนนำ พธม
กล้าเอ่ยเรื่องนี้บ้าง มีกองเชียร์คนไหนกล้าถกเรื่องนี้บ้าง แต่ละคน
"ทำเป็นลืม กันเสียหน้า" ว่าพลาดที่ไปเชื่อ
4. Name calling : สร้างสมญานาม การสร้างชื่อแทนใช้เรียกย่อๆ ง่ายๆ
และตีความได้เข้าข้างตัวเอง หรือสร้างภาพเสียหายให้ศัตรู
เป็นเทคนิคของการโฆษณาชวนเชื่ออย่างหนึ่ง
เช่น ระบอบทักษิณ ทุนนิยมสามานย์ หรือแม้แต่กระทั่งชื่อ
พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ที่ฟังดูดี ฟังว่าทำเพื่อประชาธิปไตย
ทั้งๆ ที่การกระทำนั้น ทำลายระบอบประชาธิปไตยอย่างรุนแรง
5. Black and White fallacy : ตรรกะผิด-ถูก แบบขาว-ดำ ผู้โฆษณาชวนเชื่อ
ต้องสร้างภาพการแบ่งแยกฝ่ายถูกผิดชัดเจนเป็นสีขาว-ดำ
ใครเข้าข้างจะเป็นฝ่ายถูกฝ่ายธรรมะ
ส่วนใครไม่เห็นด้วยก็จะถูกผลักไปเป็นฝ่ายผิด เป็นฝ่ายอธรรมทันที
ในความเป็นจริงแล้ว เรามีแต่สีเทา จะเทามากหรือเทาน้อย
ก็แล้วแต่ว่าเงื่อนไขใด ในทางอุดมคติเราต่างก็แสวงหาความดี
ความถูกต้องตาม หลักคำสอนทางจริยธรรมและศีลธรรมอยู่เสมอ
เมื่อแกนนำให้เข้าร่วมกับความถูกต้องชัดเจนย่อมไม่แปลกที่
จะหลงเชื่อในสิ่งที่แกนนำกล่าวอย่างง่ายดายและอาจไม่ฉุกคิดเลยว่า
สิ่งที่แกนนำพูดไม่ตรงกับการกระทำอย่างใดเลย
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด "เราทำเพื่อพ่อ เราทำเพื่อสถาบัน
ใครไม่อยู่ข้างเรา มันผู้นั้น ทรยศต่อชาติ ราชบัลลังค์ ใช่ไม่ใช่พี่น้อง"
ทั้งๆ ที่ไม่เคยอะไรเชิงสร้างสรรค์ ในการแสดงออกเรื่องการรักสถาบัน
การรักชาติ ขนาดขบวนเสด็จยังไม่ให้ผ่าน ม๊อบไม่หลีกทางให้
6. Flag Waving, Beautiful thing, and Great People reference :
ชูธงสูงส่ง อ้างสิ่งสวยงาม ตามหลักมหาบุรุษ
การโฆษณาชวนเชื่อนั้นจะอ้างตนเองและกลุ่ม แนว คิดของตน ให้ดูยิ่งใหญ่
สูงส่ง อลังการ มีคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม ด้วยคำพูดและป้ายประกาศ
ใช้ข้อความที่ดูดี อ้างอิงสิ่งเหนือธรรมชาติหรือนามธรรมที่คนยอมรับว่าดี
เช่นเทพเจ้า พระเจ้า เทพยดา อ้างแนวทางของบุคคลในประวัติศาสตร์
ศาสดาที่ยิ่งใหญ่ เช่น พระพุทธเจ้า พระมะหะหมัด พระคริสต์ มหาตมะคานธี
อับราฮัม ลินคอล์น อ้างพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ ฯลฯ แต่
การอ้างดังกล่าวแตกต่างไปจากการเผยแผ่หรือโน้มนำที่ดีตามปกติ
ด้วยว่าการโฆษณาชวนเชื่อ
จะนำภาพลักษณ์ที่ดูสูงส่งสวยงามเหล่านั้นมาบิดเบือนให้เข้าข้างแนวคิดของตน
ตัวอย่าง เช่น สนธิอ้างว่า ได้นั่งทางใน เป็นผู้วิเศษ ปะพรมน้ำมนต์
เพื่อให้ภาพลักษณ์ตัวเองดูเป็นผู้วิเศษ
ตอกย้ำความเชื่อสาวกให้ศรัทธาเลื่อมใส และ
แกนนำพธม.มักจะอ้างหลักทางพุทธศาสนา ว่าพวกพธม. เป็นกองทัพธรรมที่สูงส่ง
แต่ทักษิณเป็นซาตาน เป็นเทวทัต กลับมาชาติมาเกิด แบบนี้อยู่เนืองๆ
7. Disinformation by mass media : ควบคุมกำจัดข้อมูลผ่านสื่อสารมวลชน
การ บอกข้อมูลไม่ครบ บอกความจริงไม่หมด
เลือกแต่เฉพาะข้อมูลหรือข่าวที่ส่งผลดีต่อฝ่ายตนเอง ใช้การอ้างนอกบริบท
หรือนำคำพูดที่ไม่เกี่ยวข้องกันมาแต่งเติมเสริมเข้าไปให้ดูดี
ยิ่งใช้สื่อมวลชนที่เข้าถึงคนหมู่มาก ยิ่งบอกผ่านกันไปปากต่อปาก
และยิ่งดูน่าเชื่อถือ หลายๆคนพอตั้งข้อสงสัย ก็ถูกตอบว่า
"ก็ทีวีว่ามาอย่างนี้" "ก็นักวิชาการท่านโน้น ท่านนี้บอกมาอย่างนี้"
วิธี นี้เป็นวิธีที่ แกนนำ พธม.ใช้บ่อยที่สุด โดยเฉพาะเรื่องการบอกไม่ครบ
แม้กระทั่งปัจจุบันยังนำมาใช้ในการบิดเบือนข่าวสาร โดยไม่ลงเนื้อหาให้ครบ
ทำให้คนเข้าใจผิดแม้กระทั่งในม๊อบ ก็ยังใช้วิธีการบอกต่อ แบบปากต่อปาก
ว่าแกนนำได้รับการสนับสนุนจากคนโน้นคนนี้ ว่าทักษิณทำอย่างโน้นอย่างนี้
แบบที่พูดบนเวทีไม่ได้พธม. จะมีหน่วยหน้าม้า กระจายข่าวในกลุ่ม
ในหมู่กองเชียร์ เพื่อชี้นำความคิดไปในทิศทางของตน
วิธีการโฆษณาชวนเชื่อ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกับกองเชียร์ พธม.
ที่หลงเชื่อเป็นอันมาก
มัน ทำให้ตรรกะของกองเชียร์บิดเบี้ยวโดยไม่รู้ตัว
กองเชียร์จะเห็นคนอื่นที่ไม่ใช่ พธม. ด้วยกัน เป็นคนผิดหมด เป็นคนโง่
รู้ไม่เท่าทันเหมือนตนหนักเข้า กองเชียร์ก็จะโดนแกนนำโน้มน้าวว่าให้ปิดหู
ปิดตา ไม่ต้องดูสื่ออื่นๆ นอกจากสื่อที่แกนนำบอกให้ดู
ซึ่งกองเชียร์ก็เชื่อ ดูข่าวจากแหล่งเดียวและเชื่อโดยทันที
หรือแม้กระทั้งกองเชียร์บางคนกลาย เป็นคนใช้ถ้อยคำหยาบคาย ด่าทอ เสียดสี
คนที่ไม่เห็นด้วย ทั้งๆที่ไม่เคยมี พฤติการ หรือนิสัยหยาบคายมาก่อน
กองเชียร์พร้อมบริจาค ทุ่มเททั้งกำลังกายและทรัพย์สินให้กับแกนนำ
โดยไม่เหลือให้ตัวเองและครอบครัว ไม่คิดหน้าคิดหลัง ให้จนสุดตัว
บ้าจนหมัดตัว ทุ่มจนสุดใจ ซึ่งกว่าจะรู้ตัว สิ่งแวดล้อม สังคม
เพื่อนฝูงของกองเชียร์แฟนพันธุ์แท้เหล่านี้
ก็จะเหลือเพียงคนที่เป็นกองเชียร์ด้วยกันเท่านั้น เพื่อนฝูง ญาติพี่น้อง
ที่เคยคบหากันด้วย ต่างก็หลบลี้หนีหน้า
มันช่างน่าสงสารเสียจริงๆ รักชาติจนป่นปี้ รู้ทันจนบรรลัย...
*ข้อสังเกต บรรดาแฟนพันธุ์แท้ของ พธม. ที่หลงเหลืออยู่ พวกเหนียวแน่น
จะมีคุณสมบัติหนึ่งที่คล้ายคลึงกันคือ เป็นพวก รู้แบบครึ่งๆ กลางๆ
รู้ไม่จริง ซะเป็นส่วนมาก และใครแตะต้องวิจารณ์แกนนำไม่ได้เด็ดขาด
จะต้องปฏิบัติการโต้ตอบแบบอดรนทนไม่ไหว ตามแต่วิธีการ
จากคุณ : ปูอิศรีย์1
http://www.pantip.com/cafe/rajdumnern/topic/P8770759/P8770759.html
วันอังคารที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2553
21 กลยุทธ์ในตำราพิชัยสงครามไทยแต่โบราณ
ตำราพิชัยสงครามของไทย เขียนโดยการผูกโยงเป็นคำกลอน มีทั้งสิ้น ๒๑ กลยุทธ์
ฤทธี สีหจักร ลักษณ์ซ่อนเงื่อน
เถื่อนกำบัง พังภูผา ม้ากินสวน
พวนเรือโยง โพงน้ำบ่อ ล่อช้างป่า
ฟ้างำดิน อินทร์พิมาน ผลาญศัตรู
ชูพิษแสลง แข็งให้อ่อน ยอนภูเขา
เย้าให้ผอม จอมปราสาท ราชปัญญา
ฟ้าสนั่นเสียง เรียงหลักยืน ปืนพระราม
กลยุทธ์ ๑ : กลฤทธี
กลอันหนึ่ง..........................ชื่อว่าฤทธีนั้น
ชั้นทะนงองอาจ....................ผกผาดกล่าวเริงแรง
สำแดงแก่ข้าแกล้วหาญ..........ชวนทำการสอนศาสตร์
อาจเอาบ้านเอาเมือง..............ชำนาญเนืองณรงค์
ยงใจผู้ใจคน.......................อาสาเจ้าตนทุกค่ำเช้า
จงหมั่นเฝ้าอย่าครา...............พักตราชื่นเทียมจันทร์
ทำโดยธรรมจงภักดิ์..............บันเทิงศักดิ์จงสูง
จูงพระยศยิ่งหล้า.................กลอันศึกนี้ว่า กลชื่อฤทธี
กลยุทธ์นี้สรุปความว่า ให้ฝึกซ้อมให้เชี่ยวชาญการศึก ให้พร้อมที่จะรบได้ตลอด เมื่อมีโอกาสจะได้อาสาเจ้านายทำศึก การจะชนะศึกได้ต้องเตรียมพร้อมให้ดี ฝึกฝนฝีมือสม่ำเสมอไม่ประมาท มีวินัย นับเป็นกลยุทธ์พื้นฐานที่ ทุกกองทัพต้องมี ถ้าทัพใดหย่อนยานการฝึกและขาดวินัย ก็เตรียมใจพ่ายแพ้ได้เลย และการที่กองทัพจะแสดง “ฤทธิ์” ได้นั้นต้องมีแม่ทัพที่ดี ที่เอาใจใส่ร่วมเป็นร่วมตายกับลูกน้อง เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันจึงจะสามารถฝ่าฟัน พิฆาตไพรีเอาชนะศึกได้
กลยุทธ์ ๒ : กลสีหจักร
“กลหนึ่งชื่อว่าสีหจักร..........ให้บริรักษ์พวกพล
ดูกำลังตนกำลังท่าน..........คิดคะเนการแม่นหมาย
ยักย้ายพลเดียรดาษ..........พาสไครคลี่กรรกง
ตั้งพลลงแปดทิศ..............สถิตช้างม้าอย่าไหว
ตั้งพระพลาชัยจงสรรพ.......จงตั้งทัพโดยศาสตร์
ฝังนพบาทตรีโกน.............ให้ฟังโหรอันแม่น
แกว่นรู้หลักมิคลาด............ให้ผู้อาจทะลวงฟัน
ให้ศึกผันแพ้พ่าย..............ย้ายพลใหญ่ให้ไหว
ไสพลศึกให้หนี................กลศึกอันนี้ชื่อว่า สีหจักร”
กลยุทธ์นี้สรุปใจความอยู่ที่ “ดูกำลังตนกำลังท่าน” ซึ่งก็คือ “รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครา” ในพิชัยสงครามซุนวูนั่นเอง การรู้เขารู้เราเป็นสิ่งที่สำคัญมาก ถ้าเราไม่รู้ว่าจุดด้อยของเราคืออะไร เราก็จะป้องกันไม่ถูก และถ้าเราไม่รู้จุดบอดของข้าศึก ดุ่มๆโจมตีไปความเสียหายย่อมมีมาก ดีไม่ดีสูญเสียทั้งกองทัพ ประดุจเดินผิดตาเดียวแพ้ทั้งกระดาน ดังนั้นข้อมูลข่าวสารจึงเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการวางแผนทำศึก
กลยุทธ์ ๓ : กลลักษณ์ซ่อนเงื่อน
“กลหนึ่งลักษณ์ซ่อนเงื่อน.........เตือนกำหนดกฎหมายตรา
แยกปีกกาอยู่สรรพ.........................นับทหารผู้แกล้ว
กำหนดแล้วจงคง............................แต่งให้ยงยั่วเย้า
ลากศึกเข้าในกล............................แต่งคนแต่งช้างม้า
เรียงหน้าหลังโจเจ..........................รบโยเยแล้วหนี
ศึกติดตีตามติด.............................สมความคิดพาดฆ้องชัย
ยกพลในสองข้าง...........................ยกช้างม้ากระทบ
ยอหลังรบสองข้าง..........................จึ่งบ่ายช้างอันหนี
คระวีอาวุธโห่ร้อง............................สำทับก้องสำคัญ
ยืนยันรบทั้งสี่................................คลี่พลออกโดยสั่ง
ศัตรูตั้งพังฉิบหาย...........................อุบายศึกอันนี้
ชื่อว่าลักษณ์ซ่อนเงื่อน”
กลยุทธ์นี้มีให้เห็นทุกนิยายพงศาวดาร และทุกตำราพิชัยสงคราม นักการทหารทุกคนทราบดี แต่ก็มักจะได้ผลเสมอ ๆ ปราชญ์โบราณท่านแต่งร่ายได้เห็นภาพเลย คือแต่งทัพหลอกล่อให้ข้าศึกหลงกลตามตีแล้วทำเป็นพ่ายให้ข้าศึกได้ใจตามตีต่อ เข้าสู่ killing field ที่มีทัพหนุนของเราซุ่มคอยโอบล้อมโจมตีอยู่ ที่ไหนกองทัพข้าศึกจะไม่พลาดพลั้งเสียทีแก่เรา
กลยุทธ์ ๔ : กลเถื่อนกำบัง
“กลหนึ่งชื่อว่าเถื่อนกำบัง........รั้งรบพลตนน้อย
ชัดคนคล้องแฝงป่า.......................แต่งพลหล้าแล่นวง
ทั้งกงนอกกงใน..........................ไว้ช้างม้าให้แฝง
แทงให้ร้องทรหึง..........................มี่อึงฆ้องกลองชัย
ไว้ให้เสียงสำทับ..........................ปืนไฟกับธนู
หน้าไม้กรูกันมา...........................ดาบทะลวงฟันดาหลัง
ประนังช้างม้าเรี่ยชายไพร...............ลูกหาบในป่าโห่
เกราะเสโลนี่นั่น..........................ให้ศึกงันรึถอย
ครั้นศึกคล้อยเห็นผู้ห้าว.................กลเสือคราวครึมป่า
แล้วออกหล้าแล่นฉาว...................ทำสามหาวซ่อนเล็บ
เก็บแต่เตียนกินรก.......................ลอบฉวยฉกเอาจงเนือง
ให้ศึกเคืองใจหมอง......................คลองยุบลดังนี้
ชื่อว่าเถื่อนกำบัง”
กลเถื่อนกำบังคือ ฝ่ายเราคนน้อยกว่าแต่ทำเป็นมีกำลังมากกว่า หลอกให้ศัตรูไม่กล้าโจมตี เพราะเกรงว่าจะมีกำลังซ่อนอยู่ อุบายเมืองเปล่าที่ขงเบ้งขู่สุมาอี้นับเป็นตัวอย่างอันดี
(ใครที่เคยดู ภาพยนตร์ สุริโยไท ๕ ชั่วโมง ก็จะเคยได้ยินนะครับ ตอนที่ ขุนพินิจ กำลังถวายการสอนแก่ ราชธิดาในพระสุริโยไท ขุนพินิจจึงสอน กลศึก "เถื่อนกำบัง" )
กลยุทธ์ ๕ : กลพังภูผา
“กลนี้ชื่อพังภูผา.......แม้ศึกมาปะทะ
อย่าเพ่อระเริงแรง..............สำแดงดุจเห็นน้อย
ชักคล้อยแฝงป่าเข้า............ศึกเห็นเราดูถูก
ผูกช้างม้าออกไล่..............ยอพลใหญ่กระทบ
ผิรบเข้าบ่ไหว...................ให้ช้างม้าโรมรุม
กลุ้มกันหักอย่าคลา............อย่าช้าเร่งรุมตี
ศึกแล่นหนีตามต่อย...........ให้ยับย่อยพรายพรัด
ตัดเอาหัวโห่เล่น.................เต้นเริงรำสำแดงหาร
ให้ศึกคร้านคร้ามกลัว...........ระรัวระเสริดสัง
กลศึกอันนี้ชื่อว่าพังภูผา”
กลยุทธ์นี้จะตรงกันข้ามกับกลเถื่อนกำบัง คือฝ่ายเรามีมากกว่าแต่กลับหลอกให้ข้าศึกตายใจว่า เรามีทัพน้อยอ่อนด้อย หลอกให้ข้าศึกตั้งตนประมาทเข้าตี แล้วในที่สุดก็เสร็จเรา
กลยุทธ์ ๖ : กลม้ากินสวน
“กลหนึ่งชื่อว่าม้ากินสวน.....ให้หาผู้ควรหาญห้าว
ลาดเอาเหย้าเอาเรือน.................บ้านถิ่นเถื่อนอยู่ใกล้
จับกุมได้เอามา.........................นานาเลศเทศกาล
ปันพนักงานจงขาด....................ปรนไปลาดเนืองๆ
ให้ศึกเคืองใจแค้น....................แม้นจะอยู่ก็บ่มีสุข
บุกขับกับทุกเดือน....................เตือนใจตื่นไปมา
กลขับปลาให้ห้อม....................ด้อมดักสักสุ่มเอา
ให้ศึกเหงาใจถอย....................ค่อยเก็บนอกเข้ามา
ให้ระอาใจอ่อน.......................ผ่อนผู้คนให้หนี
กลอนกล่าวกลศึกนี้.................ชื่อว่าม้ากินสวน”
พฤติกรรมม้ากินสวนคือ ค่อย ๆ ตอดเล็มกินทีละนิดทีละนิดค่อยเป็นค่อยไป แต่สุดท้ายก็กินจนหมดสวน คือการตีรุกคืบทีละนิดค่อยๆกลืนกินดินแดนทีละส่วนทีละน้อย เป็นกลยุทธ์ที่ใช้มากในสงครามโลกครั้งที่1 คือสงครามสนามเพาะ คือค่อยๆยึดพื้นที่ทีละน้อย แล้วขุดสนามเพาะไว้ให้ทหารประจำการ ทหารที่อยู่ในหลุมเพาะสามารถโจมตีข้าศึกที่เคลื่อนที่เข้ามาได้ แต่ตัวอยู่ในหลุมสามารถป้องกันการโจมตีจากอีกฝ่ายได้ สงครามนี้กินเวลายาวนานเพราะทั้งสองฝ่ายต่างทำสนามเพาะเฝ้าระวังซึ่งกันและ กัน กว่าจะกินพื้นที่ได้สักกิโลเมตรหนึ่งใช้อาจเวลานานเป็นสัปดาห์ สงครามลักษณะนี้สิ้นสุดด้วยการประดิษฐ์รถถังเข้าโจมตี เพราะรถถังสามารถป้องกันกระสุนที่เหล่าทหารในหลุมเพาะโจมตีได้ และยังเคลื่อนที่ผ่านพื้นที่เป็นหลุมบ่อ ของสนามเพาะไปโจมตีข้าศึกได้
กลยุทธ์ ๗ : กลพวนเรือโยง
“กลศึกอันหนึ่ง...........ชื่อว่าพวนเรือโยง
ประดุจพะองปีนตาล..............ทำจงหวานแช่มชิด
ผูกเป็นมิตรไมตรี.................สิ่งใดดียกให้
ละไล่ต่ออย่าเสีย.................แต่งลูกเมียให้สนิท
ติดต่อตั้งยังกล....................ยุบลช้างเถื่อนตามโขลง
โยงเบ็ดราวคร่าวเหยื่อย่าม......ค่อยลากก้ามเอามา
ด้วยปัญญาพิสดาร...............กลการศึกอันนี้
ชื่อว่าพวนเรือโยง”
เมื่อข้าศึกมีฝีมือเก่งกล้าเอาชนะไม่ได้ง่าย อย่ากระนั้นเลยเอามันเป็นพวกเลยดีกว่า ไม่ต้องรบให้เหนื่อยแถมได้กำลังอันเก่งกล้านั้นเป็นพวกอีกต่างหาก ทำได้โดยการ ให้ทรัพย์สมบัติดีมีราคา ใ ห้สาวงาม ยกลูกสาวให้จะได้เป็นญาติกันเสีย ฝ่ายนั้นก็ไม่กล้ามาโจมตีเรา เพราะเรามีศักดิ์เป็นพ่อตาเสียแล้ว ในพงศาวดารไทย และจีนมีตัวอย่างกลยุทธ์เช่นนี้มาก
กลยุทธ์ ๘ : กลโพงน้ำบ่อ
“กลหนึ่งชื่อว่าโพงน้ำบ่อ.......คิดติดต่อข้าศึก
ฝ่ายเขานึกดูแคลน....................ใครรุกแดนรุกด้าว
เลียบเลียมกล่าวข่มเหง...............ชรเลงดูหมิ่นเรา
โอนอ่อนเอาอย่างขวาง...............ข้างเราทำดุจน้อย
ค่อยเจรจาพาที........................ลับคดีชอบไว้
อ่อนคือใครตามใจ....................น้ำไหลลู่หลั่งหลาม
พูดงามก้านกิ่งใบ.....................อัธยาศัยถ่อมถด
อดคำกล่าวท่าวเอา....................ครั้นว่าเขาดูหมิ่น
ผินฟังคนดูแคลน.....................แดนพังพลดูถูก
ประดุจลูกหลานตน....................ครั้นสบสกลไซร้
จึงยกได้เขาคืน.......................เราลุกยืนผูกเอา
ได้เขาทำสง่าเงย......................เตยหน้าตาโอ่โถง
ดุจหนึ่งโพงใต้น้ำ......................คำคดีติดต่อ
ชื่อว่าโพงน้ำบ่อ”
กริยาโพงน้ำคือ ต้องน้อมตัวลงวิดน้ำ จึงจะได้น้ำมา เมื่อฝ่ายข้าศึกมีกำลังเก่งกล้า ต้องโอนอ่อนผ่อนตามเขาไปก่อน รอให้เขาประมาทเลิกระแวงคลายใจ เราจึงค่อยหาจังหวะลงมือ
กลยุทธ์ ๙ : กลล่อช้างป่า
“กลศึกอันหนึ่งชื่อว่าล่อช้างป่า.......ผี้ศึกมาคะคึก
ศึกครั้นหนีครั้นไล่...............................บ่ค่อยไต่ค่อยตาม
ลามปามแล่นไล่มา.............................ให้แทงหาขุมขวาก
พากที่เหวที่ตม..................................แต่งให้ล้มหลุมขุม
ซุ่มซ่อนตนสองปราด..........................แต่งให้ลาดเบื้องหน้า
คอยอยู่ท่าที่ดี..................................ถ้าไพรีเห็นได้
ศึกเห็นใคร่ใจคด...............................ค่อยถอยถดฝ่ายเรา
ฝ่ายเขาขามบ่ไล่...............................ฝ่ายเราไปล่รี้พล
ไว้เป็นกลหลายฐาน...........................ปันการตามน่าหลัง
ระวังยอหลายแห่ง.............................สบที่แต่งเนืองเนือง
พลเขาเปลืองด้วยกล..........................ยุบลล่อช้างเถื่อน
แล้วแต่งเตือนหน้าหลัง........................ทั้งไปน่าก็บ่ได้
ถอยหลังไปก็บ่รอด............................ทอดตนตายกลางช่อง
คลองยุบลดังนี้.................................ชื่อว่าล่อช้างป่า”
เคล็ดลับของกลยุทธ์นี้อยู่ที่ หลอกล่อให้ข้าศึกหลงกลมาติดกับเรา วางหลุมพรางล่อหลอกเป็นระยะ ๆ จนสุดท้ายทัพข้าศึกก็ถูกทำลายย่อยยับปราชัยไป การหลอกล่อจะใช้อะไร ก็ขึ้นอยู่กับแม่ทัพของฝ่ายศัตรู ถ้าโลภก็ทิ้งของมีค่า ทิ้งสเบียงให้ตามไปเก็บ ถ้าแม่ทัพมีปัญญา ต้องลวงล่อด้วยกลศึก ให้หลงเข้าใจผิด
กลยุทธ์ ๑๐ : กลฟ้างำดิน
“กลศึกอันหนึ่ง...................ชื่อว่าฟ้างำดิน
หมั่นสำเหนียกพลพฤนทรามาตย์.....ให้ใจอาจใจหาญ
ชำนาญช้างม้ากล้าณรงค์ ...............มั่นให้คงชี้ฉับเฉียว
เหลีอบเหลียวหน้าซ้ายขวา..............ไปมาผับฉับไว
ใช้สวยยอดยวดยง.......................จงชำนาญแล่นแอ่นไว
ปืนไฟหน้าไม้พิษ.........................สนิทธนูดาบดั้งแพน
แสนเสโลหโตมร.........................กรไว้พุ่งเชี่ยวชาญ
ชำนาญศิลป์ทั้งปวง.......................ถลวงฟันรันรุม
ชุมพลสิบพลร้อย.........................อย่าให้คล้อยคลายกัน
ทั่วพลพันพลหมื่น........................หื่นพลแสนพลล้าน
จรเดียวดาลเด็ดมา.......................แปรงาช้างบ่ายตาม
ฟังความตามบังคับ.......................กับเสบียงเรียงถุง
ประดุงไพร่พลช้างม้า.....................กลศึกอันนี้ว่า ชื่อฟ้างำดิน”
กลยุทธ์นี้ เน้นที่การเคลื่อนทัพให้พร้อมเพรียง แม่ทัพสามารถบังคับบัญชากองทัพประดุจบังคับนิ้วในมือ แม้จะมีกองทัพใหญ่ก็เหมือนบังคับบัญชาทหารหน่วยย่อย
การที่จะสามารถบังคับบัญชา ทหารนับหมื่นนับแสนให้ พร้อมเพรียงกัน ทำงานประสานกันได้อย่างกลมกลืนนั้นทำได้ยาก ทุกหน่วยต้องเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน มิฉะนั้นแม้มีกำลังนับล้านก็มิอาจแสดงกำลังได้ สุดท้ายต้องพ่ายแพ้ภัยไปเอง
กลยุทธ์ ๑๑ : กลอินทร์พิมาน
“กลหนึ่งชื่อว่าอินทพิมาน.....ให้อาจารยผู้รู้
เทพยาคูฝังนพบาท....................แต่งสีหนารทข่มนาม
ตามโบราณผู้แม่น......................อันชาญแกวนเเหนประโยชน์
บรรเทาโทษโดยศาสตร์...............ยุรยาตรโดยอรรถ
ให้ประหยัดซึ่งโทษ....................อย่าขึ้งโกรธอหังการ์
มนตราคมสิทธิ์ศักดิ์....................พำนักในโบราณ
บูรพาจารย์พิไชย......................โอบเอาใจพลหมู่
ให้ดูสกุณนิมิต..........................พิศโดยญาณประเทศ
ภิเษกราชภักดี.........................ศรีสุริยศักดิ์มหิมา
แก่ผู้อาสานรนารถ....................เทพาสาธุการ
โดยดำนานดั่งนี้.......................ชื่อว่าอินทพิมาน”
กลยุทธ์นี้เน้นที่ การสร้างขวัญกำลังใจให้ฝ่ายเรา สมัยก่อน มี การใช้จิตวิทยาเพื่อปลุกระดมให้หึกเหิม ไม่กลัวศึก การปลุกเสกของวิเศษ คาถาอาคม มนตรายังเป็นสิ่งที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน กองทัพที่มีขวัญกำลังใจดี ย่อมเอาชนะศึกได้ไม่ยาก ของไทยเราที่เห็นเด่นชัดมาแต่โบราณก็คือพิธีตัดไม้ข่มนาม คือทำพิธีตัดต้นไม้ที่มีนามพ้องกับศัตรู ยกตัวอย่างเช่นสมัยรัชกาลที่6 เมื่อทรงนำไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่1 ทรงกระทำพิธีตัดไม้ข่มนาม ฟันต้น “ฝรั่ง” ก่อนจะส่งทหารไปร่วมรบในยุโรป
กลยุทธ์ ๑๒ : กลผลาญศัตรู
“กลหนึ่งชื่อว่าผลาญศัตรู........ข้าศึกดูองอาจ
บ่พลาดราษฎรกระทำ....................นำพลพยัคฆะปะเมือง
พลนองเนืองแสนเต้า.....................แจกเล่าเข้าเชาเรา
เอาอาวุธจงมาก...........................ลากปืนพิษพาดไว้
ขึ้นหน้าไม้ธนู..............................กรูปืนไฟจุกช่อง
ส่องจงแม่นอย่าคลา......................ชักสารพาบรรทุก
อย่าอุกลุกคอยฟัง........................อย่าประนังตนเด็ด
เล็ดเล็งดูที่มั่น.............................กันที่พลจงคง
คนหนึ่งจงอย่าฉุก........................ปลุกใจคนให้หื่น
ให้ชื่นในสงคราม........................ฟังความสั่งสำคัญ
ฆ้องกลองพลันแตรสังข์................ประนังโรมรันรุม
เอาจุมพลดาศึก..........................พิพฤกคะเป็นนาย
ครั้นถูกกระจายพ่ายพัง.................พลเสริดสั่งฤาอยู่
บ่เป็นหมู่เป็นการ........................โดยสารโสลกดั่งนี้
ชื่อว่าพลาญศัตรู”
กลยุทธ์นี้คือการปลุกใจกองทัพให้หึกเหิมกล้าหาญ พร้อมจะตะลุยฟาดฟันอริราชศัตรู การที่ทัพจะหึกเหิมกล้าหาญไม่กลัวตายได้นั้น ต้องมีผู้นำทัพที่เป็น“ทหารเสือ” กล้าบุกตะลุยนำทัพจึงจะชนะศึกได้ ทัพแกะที่มีราชสีห์นำ อาจชนะทัพราชสีห์ที่แกะนำได้ฉันใด แม้จะมีกองทัพที่อ่อนแอ แต่ถ้ามีแม่ทัพที่เข้มแข็งก็อาจเอาชนะศึกได้ฉันนั้น
กลยุทธ์ ๑๓ : กลชูพิษแสลง
“กลหนึ่งว่าชูพิษแสลง.......ข้าศึกแรงเรืองฤทธิ์
คิดไฝ่ภัยเอาเรา......................เคยเขามากมาก
ภาคที่แคบที่คับ......................สลับรี้พลช้างม้า
เคยคลาปล้นรุกราม.................ผลาญล่อลวงบ้านเมือง
เนืองเนืองมาเพื่อนตน...............ให้ใส่กลปราศรัย
ฝากของไปฝากรักษ์.................ลักลอบให้เงินทอง
รังวันปองขุนใหญ่....................หัวเมืองไพร่ข้าศึก
ให้ตรึกจงลับแล้ง....................แข่งอุบายเล่ห์คิด
ไปมาสนิทเป็นกล....................ให้เขาฉงนสนเท่ห์
เพราะเป็นเล่ห์ภายใน.................บ่ไว้ใจแก่กัน
ผันใจออกกินแหนง...................แยงให้ผิดด้วยกัน
ชูพิษผันแปรพิษ......................ให้ผิดกันเองโจกเจก
บ่เป็นเอกใจเดียว......................บ่เป็นเกี่ยวเป็นการ
เพราะพิษพลาญศัตรู.................กลศึกอันนี้
ชื่อว่าชูพิษแสลง”
กลยุทธ์นี้คือการยุแยงให้พันธมิตร ไม่ไว้ใจกัน ไม่ให้รวมตัวกันติด แล้วเข้าทำลาย และเข้ายึดครอง เป็นกลยุทธ์หลักที่มหาอำนาจตะวันตกชอบใช้ ในสมัยล่าอาณานิคม ให้แต่ละเผ่าแต่ละฝ่ายในประเทศผิดใจกัน ไม่ไว้ใจกันจนเป็นปัญหาสืบมาจนถึงปัจจุบัน ดังเช่นปัญหาอินเดีย-ปากีสถาน, ตะวันออกกลาง, และคาบสมุทรเกาหลี เป็นต้น
กลยุทธ์ ๑๔ : กลแข็งให้อ่อน
“กลหนึ่งแข็งให้อ่อน.......ผ่อนเมื่อศัตรูยก
ให้ดูบกดูน้ำ..........................ซ้ำดูเข้ายาพิษ
พินิจพิษจงแหลก....................ตัดไม้แบกเบื่อเมา
เอาไปทอดในน้ำ....................ทัพซ้ำหนามขวาก
แต่งจงมากท่าทาง..................วางจางห้าวแหลมเล่ห์
บ่อดานทางเข่าที่ขัน................กันหลายแห่งที่คับ
แต่งสนับไว้จ่อไฟ..................ไล่เผาคลอกป่าแขม
แนมหวากแนมห่วงน้ำข้าม........ตามเผาป่าแทบทัพ
ยับไม้เผาเป็นถ่าน..................หว่านไฟไว้รายเรียง
รอเผาเสบียงจงสิ้น.................อย่าให้กินเป็นอาหาร
แต่งคนชาญหลอกทัพ............ให้เสียหับเสียหาย
ทำลายคาบเนืองเนือง.............เปลืองเสบียงเปล่าเฉาแรง
กลเชื้อแข็งให้อ่อน”
กลยุทธ์นี้คือการทำให้ศัตรูอ่อนแรง โดยการล่อหลอกวางเล่ห์กล ทำขวากหนาม เผาทำลายค่ายเสบียง ให้ข้าศึกอ่อนแรง จนไม่มีศักยภาพพอในการทำศึกสงครามกับเรา
กลยุทธ์ ๑๕ : กลยอนภูเขา
“กลหนึ่งยอนภูเขา..........ข้าศึกเนาประชิ
ให้ริดูช่องชอบ........................ที่จะขอบจะขัง
แต่งระวังยักย้าย.....................ฝ่ายพลเขาเอาเสบียง
เรียงงานในเมืองเรา.................เอาใจไพร่ใจพล
คนอยู่ประจำการ.....................พนักงานใครใครรบ
แต่งบรรจบพลแล่น.................ให้ทำแกว่นชวนกัน
แต่งถลวงฟันบุกทัพ.................คอยฟังศัพย์สำคัญ
หาที่ยันที่อ้าง.........................เอาม้าช้างเป็นดิน
ปีนคูหักค่ายเข้า......................รบรุกเร้ารุมแทง
อย่าคลายแคลงพรายพรัด.........ตัดให้ม้วยด้วยกัน
ให้สำคัญจงแม่น.....................แล่นช้างม้าวางขวาก
เขาตามยากเอาเรา..................เท่าทิศที่ตนหมาย
ฆ่าให้ตายกลากลาด................ต้องบาดเจ็บป่วยการ
ศัตรูดาลระทด.......................ขดด้วยเสียงปืนไฟ
ในเมืองเร่งโห่ร้อง...................ให้มี่ก้องนิรนาท
มีปี่พาทย์เสียงสรวญใน............ชมชื่นใจขับรำ
ซ้ำทะนงองอาจ......................ปืนไฟพาดประนัง
กลชื่อพังภูเขา”
ชื่อของกลยุทธ์นี้อาจทำให้สับสน เพราะขึ้นต้นด้วย “ ยอนภูเขา” แต่กลับจบด้วย “ พังภูเขา” อาจเป็นเพราะหาคำสัมผัสไม่ได้ ใจความสำคัญอยู่ที่ “ ฝ่ายพลเขาเอาเสบียง เรียงงานในเมืองเรา” คือรู้ว่าข้าศึกส่งสายสืบเข้ามาในทัพเรา เราแสร้งทำเป็นไม่รู้แต่ซ้อนกลใช้สายนั้นให้ ส่งข่าวที่ผิดๆ หลอกล่อฝ่ายข้าศึกเป็นการ “ยอน หรือ ย้อนรอย” ให้ข้าศึกสูญเสียในที่สุด นอกจากนี้ยังต้องคอยระวังรักษาป้องกัน อย่าให้ข้าศึกบุกรุกเข้ามาได้
กลยุทธ์ ๑๖ : กลเย้าให้ผอม
“กลหนึ่งเย้าให้ผอมนั้น..........บั้นเมื่อให้เธอลีลา
พาธาอธิราช ...............................ให้พินาศศัตรู
หมั่นตรวจดูกำลัง..........................ช้างม้าทั้งรี้พล
ปรนกันพลัดไปลาด.......................ผาดจู่เอาแต่ได้
หนังสือไว้หมายหมก......................ว่าจะยกพลหลวง
ลวงใส่กลเป็นเขต..........................ดูในเทศการ
ให้ป่วยงานทำนา........................... แสงตรวจตราพลแกล้ว
แล้วคลายพลเราเสีย.......................เยียกลเมฆมืดฝน
ฝนไป่ตกตรนกอางขนาง..................ให้แผ้วถางแสร้งทำ
คคึกคำแรงรณ...............................ครั้นหลงกลยกเล่า
ลากพลเข้าเนืองเนือง......................แยงให้เปลืองไปมา
ดุจกลกาลักไข่...............................จะไล่ก็ไล่มิทัน
วันคืนปีป่วยการ..............................ข้าศึกต้านยืนอยาก
ให้ข้าวยากหมากแพง.......................สิ่งเป็นแรงให้แรงถอย
ร่อยรอนไข้ใจหิว.............................ตีนมือปลิวพลัดพราย
ไพร่หนีนายนายเปลี่ยว.....................บ่เป็นเรี่ยวเป็นแรง
ใครใครแข็งมิได้.............................ใครใครไม่มีลาภ
ถ้ารูปงามเสาวภาพย์ก็จะเศร้า..............กลอุบายนี้เล่า
ชื่อว่าเย้าให้ผอม”
กลยุทธ์นี้คือการนำกำลังทหารหน่วยย่อย ๆ เข้าตีรบกวนตามแนวชายแดน ให้ข้าศึกต้องเตรียมทัพเข้าสกัดไม่มีเวลาหยุดพักเพราะไม่รู้กำลังพลเรา ทำให้ขวัญและกำลังใจอ่อนด้อยลง ต้องเกณท์ทหารจัดทัพทั้งปีไม่มีเวลาทำไร่ไถนา เตรียมเสบียง เมื่อขวัญและกำลังข้าศึกอ่อนล้าเต็มที่แล้ว จึงค่อยเคลื่อนทัพใหญ่เข้าเผด็จศึก
กลยุทธ์ ๑๗ : กลจอมปราสาท
“กลหนึ่งชื่อจอมปราสาท..........องอาจมุ่งมาทดู
คูหอคอยเวียงวัง.............................ตั้งไชยภุมจงผับ
รู้ตั้งทัพพระพลาไชย.......................อย่าได้ไหวได้หวั่น
หมั่นดูฉบับธรรมเนียม......................เตรียมปูนปันเป็นกอง
น่าหลังสองตราบข้าง.......................รอบไว้ช้างม้ารถ
ห้วยธารคดโยธา.............................ให้รักษาจงรอบ
ทุกคันขอบนอกใน..........................อย่าได้ไหวปั่นป่วน
อย่าได้ด่วนคอยฟัง.........................คอยดูหลังดูน่า
จัดช้างม้ารี้พล................................ปรนกันกินกันนอน
อย่ายอหย่อนอุตส่าห์.......................ให้หมั่นว่าหมั่นตรวจตรา
ทังกะลากะแลงแกง.........................อย่าได้แฝงนายไพร่
ภัยรักษาจงมาก..............................อย่าให้ยากใจพล
อย่าทำกลดุจเสือ............................บกเรือจงชำนาญ
ชาญทั้งที่โดยกระบวน......................คิดควรรู้จงผับ
นับหน้าดูผู้อาสา..............................หาคนดีเป็นเพื่อน
อย่าเลื่อนถ้อยให้เสียคำ....................ทำอันใดโดยศาสตร์
ตามฉบับราชโบราณ.........................กระทำการให้รอมชอม
กลศึกอันนี้ชื่อว่าจอมปราสาท”
กลยุทธ์นี้ท่านให้รู้จักจัดทัพ วางค่ายกล ให้รู้ว่าภูมิประเทศแบบไหนควรตั้งทัพอย่างไร จึงจะได้ชัย นอกจากนี้ท่านสอนให้รู้จักดูลักษณะของผู้ที่จะเป็นแม่ทัพไปทำศึก ให้เลือกคนที่เหมาะสมกับหน้าที่นั้นๆ ถ้าเลือกแม่ทัพผิดก็เตรียมใจแพ้ได้เลย
กลยุทธ์ ๑๘ : กลราชปัญญา
“กลหนึ่งชื่อว่าราชปัญญา..........พร้อมเสนาทั้งสองข้าง
ช้างม้ารถเสมอกัน...........................หานักธรรม์ผู้ฉลาด
อาจใส่กลไปปลอม..........................ด้อมดูที่ดูทาง
วางต้นหนคนใช้..............................ไว้กังวลแก่เขา
เอาสินให้หฤหรรษ์...........................ให้คิดผันใจออก
ทั้งภายนอกภายใน..........................หวั่นไหวใจไปมา
แต่งโยธาหัดกัน..............................หลายหมู่พรรค์หลายกอง
จองนายหนึ่งไพร่สี่...........................ทวีนายหนึ่งไพร่หก
ยกนายหนึ่งไพร่เก้า..........................เคล้านายห้าจองพล
ซ้ายขวาพลหน้าหลัง.........................ทั้งอาวุธท่าทาง
ถอยพึงกางกันรบ.............................ทบท่าวอย่าหนีกัน
คอยยืนยันรบพลาง..........................ใส่ยาวางเรียเด็ก
นายไพร่เล็ดลอดตาม.......................ให้ฟังความสั่งสำคัญ
ฆ้องกลองพลันธงไชย......................กดให้ไล่ให้หนี
ลีลาลาดศึกเข้า...............................ในพลเคล้าเป็นกล
สองกองพลซ้ายขวา.........................ดูมรรคาชอบกล
เอาพลตั้งสองข้าง............................กองกลางง้างพลถอย
ศึกตามลอยแล่นไล่..........................ครั้นศึกไปล่ออกข้าง
คอยดูช้างดูม้า................................ ดูทวยค้ารี้พล
สบสกลโดยสำคัญ............................จึ่งกระทบกันเข้ารบ
สบสำเหนียกเสียกสา.........................อย่าให้คลาให้คลาด
ผาดเอาคงเอาวัน..............................หยิบเอาพลันจงได้
ไว้กำหนดนายกอง............................ช่างปองปูนจงสลับ
นับอ่านเร่งตรวจตรา...........................กลศึกอันนี้ชื่อว่า
กลราชปัญญา”
ถ้าทัพทั้งสองฝ่ายมีกำลังพอกัน มีแม่ทัพที่มีความสามารถพอกัน ท่านให้ใช้กลราชปัญญาเอาชัยกล่าวคือ การใช้สายลับจารชน ซึ่งสมัยก่อนนิยมใช้ผู้ทรงศีลสูงวัยเนื่องจากเป็นที่เคารพเกรงใจของเหล่าขุน พลฝ่ายตรงข้าม ให้เข้าไปยุแหย่ให้แตกแยก ไปให้สินบนต่างๆนานา และล้วงความลับต่างๆ
กลยุทธ์ ๑๙ : กลฟ้าสนั่นสียง
“กลชื่อฟ้าสนั่นเสียง..........เรียงพลพยุหกำหนด
กดประกาศถึงตาย.....................หมายให้รู้ถ้วนตน
ปรนปันงานณรงค์......................ยวดยงกล่าวองอาจ
ผาดกำหนดกดตรา....................ยามล่าอย่าลืมตน
ทำยุบลสีหนารท.......................ดุจฟ้าฟาดแสงสาย
สำแดงการรุกรัน.......................ปล้นปลอมเอาชิงช่อง
ลวงเอาบุรีราชเสมา....................ตรารางวัลเงินทอง
ปองผ้าผ่อนแพรพรรณ................ยศอนันต์ผายผูก
ไว้ชั่วลูกชั่วหลาน.......................การช้างม้าพลหาญ
ใช้ชำนาญการรบ.......................สบได้แก้จงรอดราษฏร์
ดุจฟ้าฟาดเผาผลาญ...................แต่งทหารรั้งรายเรียง
เสียงคะเครงคะคร้าน..................ทังพื้นป่าคะครัน
สนั่นฆ้องกลองไชย....................สรในสรรพแตรสังข์
กระดึงดังฉานฉ่า........................ง่อนงาช้างรายเรียง
เสียงบรรณพาคร้านครั่น...............กล่าวกลศึกนั้น
ชื่อฟ้าสนั่นเสียง”
กลยุทธ์ฟ้าสนั่นเสียงคือ การใช้กำลังทางทหาร บุกตะลุยรวดเร็วอย่างฉับพลัน ใช้ฆ้องกลองแตรสร้างเสียงข่มขวัญข้าศึก ทำให้ไม่มีกำลังใจที่จะต่อกรกับเรา ประดุจเราตกใจกลัวเสียงฟ้าร้อง
กลยุทธ์ ๒๐ : กลเรียงหลักยืน
“กลศึกชื่อเรียงหลักยืน..........ให้ชมชื่นรุกราน
ผลาญให้ครอบทั่วพัน....................ผันเอาใจให้ชื่น
หื่นสร้างไร่สร้างนา.......................หาปลาล่วงแดนต่าง
โพนเลื่อนช้างล่วงแดนเขา..............เอาเป็นพี่เป็นน้อง
พร้องตั้งค่ายตั้งเวียง.....................บ้านถิ่นเรียงรายมั่น
เร่งกระชั้นเข้ารียงราย...................เกาะเอานายเอาไพร่
ไว้ใจกายใจถึง............................ระวังพึงจงให้
ใส่ไคร้เอาเป็นเพื่อน.....................ใครแข็งกล่นเกลื่อนเสีย
ให้เมียผูกรัดรึง............................ให้เป็นจึ่งม่ามสาย
รายรอบเอาจงมั่น.........................จงเอาชั้นเป็นกล
กลให้เขาลอบลัน.........................ปล้นบ้านถิ่นเถื่อนไปมา
ระวาเพศแทบเวียง........................กลศึกอันนี้ชื่อว่าเรียงหลักยืน”
กลยุทธ์นี้คือการค่อยขยายอำนาจอย่างใจเย็น ค่อย ๆ รุกรานเข้าชิงพื้นที่ทีละนิด แล้วส่งคนของเราเข้ามาสร้างความคุ้นเคยอยู่อาศัย แต่งงานอยู่กินจนกลายเป็นพวกเราเลย
กลยุทธ์ ๒๑ : กลปืนพระราม
“กลชื่อว่าปืนพระราม..........ว่าอย่ามีความโกรธขึ้ง
ทรอึงใจหนักพฤกษ์.....................สำแดงศึกใหญ่มา
พาธาจงคอยฟัง..........................ให้ระวังถอยแกล้ง
แม่นอย่าแอ่วแวนไว้....................ได้แล้วกลับคืนรอด
ริรอบปลอดมีชัย.........................หวั่นไหวใจศัตรู
ดูสนั่นใจเศร้า.............................ให้พระยศเจ้ารุ่งเรือง
เลื่องลือเดชหาญห้าว....................ทุกทั่วท้าวเกรงขาม
ชื่อปืนพระรามสำเร็จ.....................ยี่สิบเอ็ดกลณรงค์
ด้วยประสงค์ดั่งนี้”
มาถึงกลยุทธ์สุดท้าย กลยุทธ์นี้ใจความอยู่ที่ “สำแดงศึกใหญ่มา พาธาจงคอยฟัง ให้ระวังถอยแกล้ง” ก็คือให้รู้จักถอย เมื่อข้าศึกมีกำลังพลมหาศาลเกินกว่าที่จะเอาชนะได้ ต้องรู้จักถอย
ฤทธี สีหจักร ลักษณ์ซ่อนเงื่อน
เถื่อนกำบัง พังภูผา ม้ากินสวน
พวนเรือโยง โพงน้ำบ่อ ล่อช้างป่า
ฟ้างำดิน อินทร์พิมาน ผลาญศัตรู
ชูพิษแสลง แข็งให้อ่อน ยอนภูเขา
เย้าให้ผอม จอมปราสาท ราชปัญญา
ฟ้าสนั่นเสียง เรียงหลักยืน ปืนพระราม
กลยุทธ์ ๑ : กลฤทธี
กลอันหนึ่ง..........................ชื่อว่าฤทธีนั้น
ชั้นทะนงองอาจ....................ผกผาดกล่าวเริงแรง
สำแดงแก่ข้าแกล้วหาญ..........ชวนทำการสอนศาสตร์
อาจเอาบ้านเอาเมือง..............ชำนาญเนืองณรงค์
ยงใจผู้ใจคน.......................อาสาเจ้าตนทุกค่ำเช้า
จงหมั่นเฝ้าอย่าครา...............พักตราชื่นเทียมจันทร์
ทำโดยธรรมจงภักดิ์..............บันเทิงศักดิ์จงสูง
จูงพระยศยิ่งหล้า.................กลอันศึกนี้ว่า กลชื่อฤทธี
กลยุทธ์นี้สรุปความว่า ให้ฝึกซ้อมให้เชี่ยวชาญการศึก ให้พร้อมที่จะรบได้ตลอด เมื่อมีโอกาสจะได้อาสาเจ้านายทำศึก การจะชนะศึกได้ต้องเตรียมพร้อมให้ดี ฝึกฝนฝีมือสม่ำเสมอไม่ประมาท มีวินัย นับเป็นกลยุทธ์พื้นฐานที่ ทุกกองทัพต้องมี ถ้าทัพใดหย่อนยานการฝึกและขาดวินัย ก็เตรียมใจพ่ายแพ้ได้เลย และการที่กองทัพจะแสดง “ฤทธิ์” ได้นั้นต้องมีแม่ทัพที่ดี ที่เอาใจใส่ร่วมเป็นร่วมตายกับลูกน้อง เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันจึงจะสามารถฝ่าฟัน พิฆาตไพรีเอาชนะศึกได้
กลยุทธ์ ๒ : กลสีหจักร
“กลหนึ่งชื่อว่าสีหจักร..........ให้บริรักษ์พวกพล
ดูกำลังตนกำลังท่าน..........คิดคะเนการแม่นหมาย
ยักย้ายพลเดียรดาษ..........พาสไครคลี่กรรกง
ตั้งพลลงแปดทิศ..............สถิตช้างม้าอย่าไหว
ตั้งพระพลาชัยจงสรรพ.......จงตั้งทัพโดยศาสตร์
ฝังนพบาทตรีโกน.............ให้ฟังโหรอันแม่น
แกว่นรู้หลักมิคลาด............ให้ผู้อาจทะลวงฟัน
ให้ศึกผันแพ้พ่าย..............ย้ายพลใหญ่ให้ไหว
ไสพลศึกให้หนี................กลศึกอันนี้ชื่อว่า สีหจักร”
กลยุทธ์นี้สรุปใจความอยู่ที่ “ดูกำลังตนกำลังท่าน” ซึ่งก็คือ “รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครา” ในพิชัยสงครามซุนวูนั่นเอง การรู้เขารู้เราเป็นสิ่งที่สำคัญมาก ถ้าเราไม่รู้ว่าจุดด้อยของเราคืออะไร เราก็จะป้องกันไม่ถูก และถ้าเราไม่รู้จุดบอดของข้าศึก ดุ่มๆโจมตีไปความเสียหายย่อมมีมาก ดีไม่ดีสูญเสียทั้งกองทัพ ประดุจเดินผิดตาเดียวแพ้ทั้งกระดาน ดังนั้นข้อมูลข่าวสารจึงเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการวางแผนทำศึก
กลยุทธ์ ๓ : กลลักษณ์ซ่อนเงื่อน
“กลหนึ่งลักษณ์ซ่อนเงื่อน.........เตือนกำหนดกฎหมายตรา
แยกปีกกาอยู่สรรพ.........................นับทหารผู้แกล้ว
กำหนดแล้วจงคง............................แต่งให้ยงยั่วเย้า
ลากศึกเข้าในกล............................แต่งคนแต่งช้างม้า
เรียงหน้าหลังโจเจ..........................รบโยเยแล้วหนี
ศึกติดตีตามติด.............................สมความคิดพาดฆ้องชัย
ยกพลในสองข้าง...........................ยกช้างม้ากระทบ
ยอหลังรบสองข้าง..........................จึ่งบ่ายช้างอันหนี
คระวีอาวุธโห่ร้อง............................สำทับก้องสำคัญ
ยืนยันรบทั้งสี่................................คลี่พลออกโดยสั่ง
ศัตรูตั้งพังฉิบหาย...........................อุบายศึกอันนี้
ชื่อว่าลักษณ์ซ่อนเงื่อน”
กลยุทธ์นี้มีให้เห็นทุกนิยายพงศาวดาร และทุกตำราพิชัยสงคราม นักการทหารทุกคนทราบดี แต่ก็มักจะได้ผลเสมอ ๆ ปราชญ์โบราณท่านแต่งร่ายได้เห็นภาพเลย คือแต่งทัพหลอกล่อให้ข้าศึกหลงกลตามตีแล้วทำเป็นพ่ายให้ข้าศึกได้ใจตามตีต่อ เข้าสู่ killing field ที่มีทัพหนุนของเราซุ่มคอยโอบล้อมโจมตีอยู่ ที่ไหนกองทัพข้าศึกจะไม่พลาดพลั้งเสียทีแก่เรา
กลยุทธ์ ๔ : กลเถื่อนกำบัง
“กลหนึ่งชื่อว่าเถื่อนกำบัง........รั้งรบพลตนน้อย
ชัดคนคล้องแฝงป่า.......................แต่งพลหล้าแล่นวง
ทั้งกงนอกกงใน..........................ไว้ช้างม้าให้แฝง
แทงให้ร้องทรหึง..........................มี่อึงฆ้องกลองชัย
ไว้ให้เสียงสำทับ..........................ปืนไฟกับธนู
หน้าไม้กรูกันมา...........................ดาบทะลวงฟันดาหลัง
ประนังช้างม้าเรี่ยชายไพร...............ลูกหาบในป่าโห่
เกราะเสโลนี่นั่น..........................ให้ศึกงันรึถอย
ครั้นศึกคล้อยเห็นผู้ห้าว.................กลเสือคราวครึมป่า
แล้วออกหล้าแล่นฉาว...................ทำสามหาวซ่อนเล็บ
เก็บแต่เตียนกินรก.......................ลอบฉวยฉกเอาจงเนือง
ให้ศึกเคืองใจหมอง......................คลองยุบลดังนี้
ชื่อว่าเถื่อนกำบัง”
กลเถื่อนกำบังคือ ฝ่ายเราคนน้อยกว่าแต่ทำเป็นมีกำลังมากกว่า หลอกให้ศัตรูไม่กล้าโจมตี เพราะเกรงว่าจะมีกำลังซ่อนอยู่ อุบายเมืองเปล่าที่ขงเบ้งขู่สุมาอี้นับเป็นตัวอย่างอันดี
(ใครที่เคยดู ภาพยนตร์ สุริโยไท ๕ ชั่วโมง ก็จะเคยได้ยินนะครับ ตอนที่ ขุนพินิจ กำลังถวายการสอนแก่ ราชธิดาในพระสุริโยไท ขุนพินิจจึงสอน กลศึก "เถื่อนกำบัง" )
กลยุทธ์ ๕ : กลพังภูผา
“กลนี้ชื่อพังภูผา.......แม้ศึกมาปะทะ
อย่าเพ่อระเริงแรง..............สำแดงดุจเห็นน้อย
ชักคล้อยแฝงป่าเข้า............ศึกเห็นเราดูถูก
ผูกช้างม้าออกไล่..............ยอพลใหญ่กระทบ
ผิรบเข้าบ่ไหว...................ให้ช้างม้าโรมรุม
กลุ้มกันหักอย่าคลา............อย่าช้าเร่งรุมตี
ศึกแล่นหนีตามต่อย...........ให้ยับย่อยพรายพรัด
ตัดเอาหัวโห่เล่น.................เต้นเริงรำสำแดงหาร
ให้ศึกคร้านคร้ามกลัว...........ระรัวระเสริดสัง
กลศึกอันนี้ชื่อว่าพังภูผา”
กลยุทธ์นี้จะตรงกันข้ามกับกลเถื่อนกำบัง คือฝ่ายเรามีมากกว่าแต่กลับหลอกให้ข้าศึกตายใจว่า เรามีทัพน้อยอ่อนด้อย หลอกให้ข้าศึกตั้งตนประมาทเข้าตี แล้วในที่สุดก็เสร็จเรา
กลยุทธ์ ๖ : กลม้ากินสวน
“กลหนึ่งชื่อว่าม้ากินสวน.....ให้หาผู้ควรหาญห้าว
ลาดเอาเหย้าเอาเรือน.................บ้านถิ่นเถื่อนอยู่ใกล้
จับกุมได้เอามา.........................นานาเลศเทศกาล
ปันพนักงานจงขาด....................ปรนไปลาดเนืองๆ
ให้ศึกเคืองใจแค้น....................แม้นจะอยู่ก็บ่มีสุข
บุกขับกับทุกเดือน....................เตือนใจตื่นไปมา
กลขับปลาให้ห้อม....................ด้อมดักสักสุ่มเอา
ให้ศึกเหงาใจถอย....................ค่อยเก็บนอกเข้ามา
ให้ระอาใจอ่อน.......................ผ่อนผู้คนให้หนี
กลอนกล่าวกลศึกนี้.................ชื่อว่าม้ากินสวน”
พฤติกรรมม้ากินสวนคือ ค่อย ๆ ตอดเล็มกินทีละนิดทีละนิดค่อยเป็นค่อยไป แต่สุดท้ายก็กินจนหมดสวน คือการตีรุกคืบทีละนิดค่อยๆกลืนกินดินแดนทีละส่วนทีละน้อย เป็นกลยุทธ์ที่ใช้มากในสงครามโลกครั้งที่1 คือสงครามสนามเพาะ คือค่อยๆยึดพื้นที่ทีละน้อย แล้วขุดสนามเพาะไว้ให้ทหารประจำการ ทหารที่อยู่ในหลุมเพาะสามารถโจมตีข้าศึกที่เคลื่อนที่เข้ามาได้ แต่ตัวอยู่ในหลุมสามารถป้องกันการโจมตีจากอีกฝ่ายได้ สงครามนี้กินเวลายาวนานเพราะทั้งสองฝ่ายต่างทำสนามเพาะเฝ้าระวังซึ่งกันและ กัน กว่าจะกินพื้นที่ได้สักกิโลเมตรหนึ่งใช้อาจเวลานานเป็นสัปดาห์ สงครามลักษณะนี้สิ้นสุดด้วยการประดิษฐ์รถถังเข้าโจมตี เพราะรถถังสามารถป้องกันกระสุนที่เหล่าทหารในหลุมเพาะโจมตีได้ และยังเคลื่อนที่ผ่านพื้นที่เป็นหลุมบ่อ ของสนามเพาะไปโจมตีข้าศึกได้
กลยุทธ์ ๗ : กลพวนเรือโยง
“กลศึกอันหนึ่ง...........ชื่อว่าพวนเรือโยง
ประดุจพะองปีนตาล..............ทำจงหวานแช่มชิด
ผูกเป็นมิตรไมตรี.................สิ่งใดดียกให้
ละไล่ต่ออย่าเสีย.................แต่งลูกเมียให้สนิท
ติดต่อตั้งยังกล....................ยุบลช้างเถื่อนตามโขลง
โยงเบ็ดราวคร่าวเหยื่อย่าม......ค่อยลากก้ามเอามา
ด้วยปัญญาพิสดาร...............กลการศึกอันนี้
ชื่อว่าพวนเรือโยง”
เมื่อข้าศึกมีฝีมือเก่งกล้าเอาชนะไม่ได้ง่าย อย่ากระนั้นเลยเอามันเป็นพวกเลยดีกว่า ไม่ต้องรบให้เหนื่อยแถมได้กำลังอันเก่งกล้านั้นเป็นพวกอีกต่างหาก ทำได้โดยการ ให้ทรัพย์สมบัติดีมีราคา ใ ห้สาวงาม ยกลูกสาวให้จะได้เป็นญาติกันเสีย ฝ่ายนั้นก็ไม่กล้ามาโจมตีเรา เพราะเรามีศักดิ์เป็นพ่อตาเสียแล้ว ในพงศาวดารไทย และจีนมีตัวอย่างกลยุทธ์เช่นนี้มาก
กลยุทธ์ ๘ : กลโพงน้ำบ่อ
“กลหนึ่งชื่อว่าโพงน้ำบ่อ.......คิดติดต่อข้าศึก
ฝ่ายเขานึกดูแคลน....................ใครรุกแดนรุกด้าว
เลียบเลียมกล่าวข่มเหง...............ชรเลงดูหมิ่นเรา
โอนอ่อนเอาอย่างขวาง...............ข้างเราทำดุจน้อย
ค่อยเจรจาพาที........................ลับคดีชอบไว้
อ่อนคือใครตามใจ....................น้ำไหลลู่หลั่งหลาม
พูดงามก้านกิ่งใบ.....................อัธยาศัยถ่อมถด
อดคำกล่าวท่าวเอา....................ครั้นว่าเขาดูหมิ่น
ผินฟังคนดูแคลน.....................แดนพังพลดูถูก
ประดุจลูกหลานตน....................ครั้นสบสกลไซร้
จึงยกได้เขาคืน.......................เราลุกยืนผูกเอา
ได้เขาทำสง่าเงย......................เตยหน้าตาโอ่โถง
ดุจหนึ่งโพงใต้น้ำ......................คำคดีติดต่อ
ชื่อว่าโพงน้ำบ่อ”
กริยาโพงน้ำคือ ต้องน้อมตัวลงวิดน้ำ จึงจะได้น้ำมา เมื่อฝ่ายข้าศึกมีกำลังเก่งกล้า ต้องโอนอ่อนผ่อนตามเขาไปก่อน รอให้เขาประมาทเลิกระแวงคลายใจ เราจึงค่อยหาจังหวะลงมือ
กลยุทธ์ ๙ : กลล่อช้างป่า
“กลศึกอันหนึ่งชื่อว่าล่อช้างป่า.......ผี้ศึกมาคะคึก
ศึกครั้นหนีครั้นไล่...............................บ่ค่อยไต่ค่อยตาม
ลามปามแล่นไล่มา.............................ให้แทงหาขุมขวาก
พากที่เหวที่ตม..................................แต่งให้ล้มหลุมขุม
ซุ่มซ่อนตนสองปราด..........................แต่งให้ลาดเบื้องหน้า
คอยอยู่ท่าที่ดี..................................ถ้าไพรีเห็นได้
ศึกเห็นใคร่ใจคด...............................ค่อยถอยถดฝ่ายเรา
ฝ่ายเขาขามบ่ไล่...............................ฝ่ายเราไปล่รี้พล
ไว้เป็นกลหลายฐาน...........................ปันการตามน่าหลัง
ระวังยอหลายแห่ง.............................สบที่แต่งเนืองเนือง
พลเขาเปลืองด้วยกล..........................ยุบลล่อช้างเถื่อน
แล้วแต่งเตือนหน้าหลัง........................ทั้งไปน่าก็บ่ได้
ถอยหลังไปก็บ่รอด............................ทอดตนตายกลางช่อง
คลองยุบลดังนี้.................................ชื่อว่าล่อช้างป่า”
เคล็ดลับของกลยุทธ์นี้อยู่ที่ หลอกล่อให้ข้าศึกหลงกลมาติดกับเรา วางหลุมพรางล่อหลอกเป็นระยะ ๆ จนสุดท้ายทัพข้าศึกก็ถูกทำลายย่อยยับปราชัยไป การหลอกล่อจะใช้อะไร ก็ขึ้นอยู่กับแม่ทัพของฝ่ายศัตรู ถ้าโลภก็ทิ้งของมีค่า ทิ้งสเบียงให้ตามไปเก็บ ถ้าแม่ทัพมีปัญญา ต้องลวงล่อด้วยกลศึก ให้หลงเข้าใจผิด
กลยุทธ์ ๑๐ : กลฟ้างำดิน
“กลศึกอันหนึ่ง...................ชื่อว่าฟ้างำดิน
หมั่นสำเหนียกพลพฤนทรามาตย์.....ให้ใจอาจใจหาญ
ชำนาญช้างม้ากล้าณรงค์ ...............มั่นให้คงชี้ฉับเฉียว
เหลีอบเหลียวหน้าซ้ายขวา..............ไปมาผับฉับไว
ใช้สวยยอดยวดยง.......................จงชำนาญแล่นแอ่นไว
ปืนไฟหน้าไม้พิษ.........................สนิทธนูดาบดั้งแพน
แสนเสโลหโตมร.........................กรไว้พุ่งเชี่ยวชาญ
ชำนาญศิลป์ทั้งปวง.......................ถลวงฟันรันรุม
ชุมพลสิบพลร้อย.........................อย่าให้คล้อยคลายกัน
ทั่วพลพันพลหมื่น........................หื่นพลแสนพลล้าน
จรเดียวดาลเด็ดมา.......................แปรงาช้างบ่ายตาม
ฟังความตามบังคับ.......................กับเสบียงเรียงถุง
ประดุงไพร่พลช้างม้า.....................กลศึกอันนี้ว่า ชื่อฟ้างำดิน”
กลยุทธ์นี้ เน้นที่การเคลื่อนทัพให้พร้อมเพรียง แม่ทัพสามารถบังคับบัญชากองทัพประดุจบังคับนิ้วในมือ แม้จะมีกองทัพใหญ่ก็เหมือนบังคับบัญชาทหารหน่วยย่อย
การที่จะสามารถบังคับบัญชา ทหารนับหมื่นนับแสนให้ พร้อมเพรียงกัน ทำงานประสานกันได้อย่างกลมกลืนนั้นทำได้ยาก ทุกหน่วยต้องเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน มิฉะนั้นแม้มีกำลังนับล้านก็มิอาจแสดงกำลังได้ สุดท้ายต้องพ่ายแพ้ภัยไปเอง
กลยุทธ์ ๑๑ : กลอินทร์พิมาน
“กลหนึ่งชื่อว่าอินทพิมาน.....ให้อาจารยผู้รู้
เทพยาคูฝังนพบาท....................แต่งสีหนารทข่มนาม
ตามโบราณผู้แม่น......................อันชาญแกวนเเหนประโยชน์
บรรเทาโทษโดยศาสตร์...............ยุรยาตรโดยอรรถ
ให้ประหยัดซึ่งโทษ....................อย่าขึ้งโกรธอหังการ์
มนตราคมสิทธิ์ศักดิ์....................พำนักในโบราณ
บูรพาจารย์พิไชย......................โอบเอาใจพลหมู่
ให้ดูสกุณนิมิต..........................พิศโดยญาณประเทศ
ภิเษกราชภักดี.........................ศรีสุริยศักดิ์มหิมา
แก่ผู้อาสานรนารถ....................เทพาสาธุการ
โดยดำนานดั่งนี้.......................ชื่อว่าอินทพิมาน”
กลยุทธ์นี้เน้นที่ การสร้างขวัญกำลังใจให้ฝ่ายเรา สมัยก่อน มี การใช้จิตวิทยาเพื่อปลุกระดมให้หึกเหิม ไม่กลัวศึก การปลุกเสกของวิเศษ คาถาอาคม มนตรายังเป็นสิ่งที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน กองทัพที่มีขวัญกำลังใจดี ย่อมเอาชนะศึกได้ไม่ยาก ของไทยเราที่เห็นเด่นชัดมาแต่โบราณก็คือพิธีตัดไม้ข่มนาม คือทำพิธีตัดต้นไม้ที่มีนามพ้องกับศัตรู ยกตัวอย่างเช่นสมัยรัชกาลที่6 เมื่อทรงนำไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่1 ทรงกระทำพิธีตัดไม้ข่มนาม ฟันต้น “ฝรั่ง” ก่อนจะส่งทหารไปร่วมรบในยุโรป
กลยุทธ์ ๑๒ : กลผลาญศัตรู
“กลหนึ่งชื่อว่าผลาญศัตรู........ข้าศึกดูองอาจ
บ่พลาดราษฎรกระทำ....................นำพลพยัคฆะปะเมือง
พลนองเนืองแสนเต้า.....................แจกเล่าเข้าเชาเรา
เอาอาวุธจงมาก...........................ลากปืนพิษพาดไว้
ขึ้นหน้าไม้ธนู..............................กรูปืนไฟจุกช่อง
ส่องจงแม่นอย่าคลา......................ชักสารพาบรรทุก
อย่าอุกลุกคอยฟัง........................อย่าประนังตนเด็ด
เล็ดเล็งดูที่มั่น.............................กันที่พลจงคง
คนหนึ่งจงอย่าฉุก........................ปลุกใจคนให้หื่น
ให้ชื่นในสงคราม........................ฟังความสั่งสำคัญ
ฆ้องกลองพลันแตรสังข์................ประนังโรมรันรุม
เอาจุมพลดาศึก..........................พิพฤกคะเป็นนาย
ครั้นถูกกระจายพ่ายพัง.................พลเสริดสั่งฤาอยู่
บ่เป็นหมู่เป็นการ........................โดยสารโสลกดั่งนี้
ชื่อว่าพลาญศัตรู”
กลยุทธ์นี้คือการปลุกใจกองทัพให้หึกเหิมกล้าหาญ พร้อมจะตะลุยฟาดฟันอริราชศัตรู การที่ทัพจะหึกเหิมกล้าหาญไม่กลัวตายได้นั้น ต้องมีผู้นำทัพที่เป็น“ทหารเสือ” กล้าบุกตะลุยนำทัพจึงจะชนะศึกได้ ทัพแกะที่มีราชสีห์นำ อาจชนะทัพราชสีห์ที่แกะนำได้ฉันใด แม้จะมีกองทัพที่อ่อนแอ แต่ถ้ามีแม่ทัพที่เข้มแข็งก็อาจเอาชนะศึกได้ฉันนั้น
กลยุทธ์ ๑๓ : กลชูพิษแสลง
“กลหนึ่งว่าชูพิษแสลง.......ข้าศึกแรงเรืองฤทธิ์
คิดไฝ่ภัยเอาเรา......................เคยเขามากมาก
ภาคที่แคบที่คับ......................สลับรี้พลช้างม้า
เคยคลาปล้นรุกราม.................ผลาญล่อลวงบ้านเมือง
เนืองเนืองมาเพื่อนตน...............ให้ใส่กลปราศรัย
ฝากของไปฝากรักษ์.................ลักลอบให้เงินทอง
รังวันปองขุนใหญ่....................หัวเมืองไพร่ข้าศึก
ให้ตรึกจงลับแล้ง....................แข่งอุบายเล่ห์คิด
ไปมาสนิทเป็นกล....................ให้เขาฉงนสนเท่ห์
เพราะเป็นเล่ห์ภายใน.................บ่ไว้ใจแก่กัน
ผันใจออกกินแหนง...................แยงให้ผิดด้วยกัน
ชูพิษผันแปรพิษ......................ให้ผิดกันเองโจกเจก
บ่เป็นเอกใจเดียว......................บ่เป็นเกี่ยวเป็นการ
เพราะพิษพลาญศัตรู.................กลศึกอันนี้
ชื่อว่าชูพิษแสลง”
กลยุทธ์นี้คือการยุแยงให้พันธมิตร ไม่ไว้ใจกัน ไม่ให้รวมตัวกันติด แล้วเข้าทำลาย และเข้ายึดครอง เป็นกลยุทธ์หลักที่มหาอำนาจตะวันตกชอบใช้ ในสมัยล่าอาณานิคม ให้แต่ละเผ่าแต่ละฝ่ายในประเทศผิดใจกัน ไม่ไว้ใจกันจนเป็นปัญหาสืบมาจนถึงปัจจุบัน ดังเช่นปัญหาอินเดีย-ปากีสถาน, ตะวันออกกลาง, และคาบสมุทรเกาหลี เป็นต้น
กลยุทธ์ ๑๔ : กลแข็งให้อ่อน
“กลหนึ่งแข็งให้อ่อน.......ผ่อนเมื่อศัตรูยก
ให้ดูบกดูน้ำ..........................ซ้ำดูเข้ายาพิษ
พินิจพิษจงแหลก....................ตัดไม้แบกเบื่อเมา
เอาไปทอดในน้ำ....................ทัพซ้ำหนามขวาก
แต่งจงมากท่าทาง..................วางจางห้าวแหลมเล่ห์
บ่อดานทางเข่าที่ขัน................กันหลายแห่งที่คับ
แต่งสนับไว้จ่อไฟ..................ไล่เผาคลอกป่าแขม
แนมหวากแนมห่วงน้ำข้าม........ตามเผาป่าแทบทัพ
ยับไม้เผาเป็นถ่าน..................หว่านไฟไว้รายเรียง
รอเผาเสบียงจงสิ้น.................อย่าให้กินเป็นอาหาร
แต่งคนชาญหลอกทัพ............ให้เสียหับเสียหาย
ทำลายคาบเนืองเนือง.............เปลืองเสบียงเปล่าเฉาแรง
กลเชื้อแข็งให้อ่อน”
กลยุทธ์นี้คือการทำให้ศัตรูอ่อนแรง โดยการล่อหลอกวางเล่ห์กล ทำขวากหนาม เผาทำลายค่ายเสบียง ให้ข้าศึกอ่อนแรง จนไม่มีศักยภาพพอในการทำศึกสงครามกับเรา
กลยุทธ์ ๑๕ : กลยอนภูเขา
“กลหนึ่งยอนภูเขา..........ข้าศึกเนาประชิ
ให้ริดูช่องชอบ........................ที่จะขอบจะขัง
แต่งระวังยักย้าย.....................ฝ่ายพลเขาเอาเสบียง
เรียงงานในเมืองเรา.................เอาใจไพร่ใจพล
คนอยู่ประจำการ.....................พนักงานใครใครรบ
แต่งบรรจบพลแล่น.................ให้ทำแกว่นชวนกัน
แต่งถลวงฟันบุกทัพ.................คอยฟังศัพย์สำคัญ
หาที่ยันที่อ้าง.........................เอาม้าช้างเป็นดิน
ปีนคูหักค่ายเข้า......................รบรุกเร้ารุมแทง
อย่าคลายแคลงพรายพรัด.........ตัดให้ม้วยด้วยกัน
ให้สำคัญจงแม่น.....................แล่นช้างม้าวางขวาก
เขาตามยากเอาเรา..................เท่าทิศที่ตนหมาย
ฆ่าให้ตายกลากลาด................ต้องบาดเจ็บป่วยการ
ศัตรูดาลระทด.......................ขดด้วยเสียงปืนไฟ
ในเมืองเร่งโห่ร้อง...................ให้มี่ก้องนิรนาท
มีปี่พาทย์เสียงสรวญใน............ชมชื่นใจขับรำ
ซ้ำทะนงองอาจ......................ปืนไฟพาดประนัง
กลชื่อพังภูเขา”
ชื่อของกลยุทธ์นี้อาจทำให้สับสน เพราะขึ้นต้นด้วย “ ยอนภูเขา” แต่กลับจบด้วย “ พังภูเขา” อาจเป็นเพราะหาคำสัมผัสไม่ได้ ใจความสำคัญอยู่ที่ “ ฝ่ายพลเขาเอาเสบียง เรียงงานในเมืองเรา” คือรู้ว่าข้าศึกส่งสายสืบเข้ามาในทัพเรา เราแสร้งทำเป็นไม่รู้แต่ซ้อนกลใช้สายนั้นให้ ส่งข่าวที่ผิดๆ หลอกล่อฝ่ายข้าศึกเป็นการ “ยอน หรือ ย้อนรอย” ให้ข้าศึกสูญเสียในที่สุด นอกจากนี้ยังต้องคอยระวังรักษาป้องกัน อย่าให้ข้าศึกบุกรุกเข้ามาได้
กลยุทธ์ ๑๖ : กลเย้าให้ผอม
“กลหนึ่งเย้าให้ผอมนั้น..........บั้นเมื่อให้เธอลีลา
พาธาอธิราช ...............................ให้พินาศศัตรู
หมั่นตรวจดูกำลัง..........................ช้างม้าทั้งรี้พล
ปรนกันพลัดไปลาด.......................ผาดจู่เอาแต่ได้
หนังสือไว้หมายหมก......................ว่าจะยกพลหลวง
ลวงใส่กลเป็นเขต..........................ดูในเทศการ
ให้ป่วยงานทำนา........................... แสงตรวจตราพลแกล้ว
แล้วคลายพลเราเสีย.......................เยียกลเมฆมืดฝน
ฝนไป่ตกตรนกอางขนาง..................ให้แผ้วถางแสร้งทำ
คคึกคำแรงรณ...............................ครั้นหลงกลยกเล่า
ลากพลเข้าเนืองเนือง......................แยงให้เปลืองไปมา
ดุจกลกาลักไข่...............................จะไล่ก็ไล่มิทัน
วันคืนปีป่วยการ..............................ข้าศึกต้านยืนอยาก
ให้ข้าวยากหมากแพง.......................สิ่งเป็นแรงให้แรงถอย
ร่อยรอนไข้ใจหิว.............................ตีนมือปลิวพลัดพราย
ไพร่หนีนายนายเปลี่ยว.....................บ่เป็นเรี่ยวเป็นแรง
ใครใครแข็งมิได้.............................ใครใครไม่มีลาภ
ถ้ารูปงามเสาวภาพย์ก็จะเศร้า..............กลอุบายนี้เล่า
ชื่อว่าเย้าให้ผอม”
กลยุทธ์นี้คือการนำกำลังทหารหน่วยย่อย ๆ เข้าตีรบกวนตามแนวชายแดน ให้ข้าศึกต้องเตรียมทัพเข้าสกัดไม่มีเวลาหยุดพักเพราะไม่รู้กำลังพลเรา ทำให้ขวัญและกำลังใจอ่อนด้อยลง ต้องเกณท์ทหารจัดทัพทั้งปีไม่มีเวลาทำไร่ไถนา เตรียมเสบียง เมื่อขวัญและกำลังข้าศึกอ่อนล้าเต็มที่แล้ว จึงค่อยเคลื่อนทัพใหญ่เข้าเผด็จศึก
กลยุทธ์ ๑๗ : กลจอมปราสาท
“กลหนึ่งชื่อจอมปราสาท..........องอาจมุ่งมาทดู
คูหอคอยเวียงวัง.............................ตั้งไชยภุมจงผับ
รู้ตั้งทัพพระพลาไชย.......................อย่าได้ไหวได้หวั่น
หมั่นดูฉบับธรรมเนียม......................เตรียมปูนปันเป็นกอง
น่าหลังสองตราบข้าง.......................รอบไว้ช้างม้ารถ
ห้วยธารคดโยธา.............................ให้รักษาจงรอบ
ทุกคันขอบนอกใน..........................อย่าได้ไหวปั่นป่วน
อย่าได้ด่วนคอยฟัง.........................คอยดูหลังดูน่า
จัดช้างม้ารี้พล................................ปรนกันกินกันนอน
อย่ายอหย่อนอุตส่าห์.......................ให้หมั่นว่าหมั่นตรวจตรา
ทังกะลากะแลงแกง.........................อย่าได้แฝงนายไพร่
ภัยรักษาจงมาก..............................อย่าให้ยากใจพล
อย่าทำกลดุจเสือ............................บกเรือจงชำนาญ
ชาญทั้งที่โดยกระบวน......................คิดควรรู้จงผับ
นับหน้าดูผู้อาสา..............................หาคนดีเป็นเพื่อน
อย่าเลื่อนถ้อยให้เสียคำ....................ทำอันใดโดยศาสตร์
ตามฉบับราชโบราณ.........................กระทำการให้รอมชอม
กลศึกอันนี้ชื่อว่าจอมปราสาท”
กลยุทธ์นี้ท่านให้รู้จักจัดทัพ วางค่ายกล ให้รู้ว่าภูมิประเทศแบบไหนควรตั้งทัพอย่างไร จึงจะได้ชัย นอกจากนี้ท่านสอนให้รู้จักดูลักษณะของผู้ที่จะเป็นแม่ทัพไปทำศึก ให้เลือกคนที่เหมาะสมกับหน้าที่นั้นๆ ถ้าเลือกแม่ทัพผิดก็เตรียมใจแพ้ได้เลย
กลยุทธ์ ๑๘ : กลราชปัญญา
“กลหนึ่งชื่อว่าราชปัญญา..........พร้อมเสนาทั้งสองข้าง
ช้างม้ารถเสมอกัน...........................หานักธรรม์ผู้ฉลาด
อาจใส่กลไปปลอม..........................ด้อมดูที่ดูทาง
วางต้นหนคนใช้..............................ไว้กังวลแก่เขา
เอาสินให้หฤหรรษ์...........................ให้คิดผันใจออก
ทั้งภายนอกภายใน..........................หวั่นไหวใจไปมา
แต่งโยธาหัดกัน..............................หลายหมู่พรรค์หลายกอง
จองนายหนึ่งไพร่สี่...........................ทวีนายหนึ่งไพร่หก
ยกนายหนึ่งไพร่เก้า..........................เคล้านายห้าจองพล
ซ้ายขวาพลหน้าหลัง.........................ทั้งอาวุธท่าทาง
ถอยพึงกางกันรบ.............................ทบท่าวอย่าหนีกัน
คอยยืนยันรบพลาง..........................ใส่ยาวางเรียเด็ก
นายไพร่เล็ดลอดตาม.......................ให้ฟังความสั่งสำคัญ
ฆ้องกลองพลันธงไชย......................กดให้ไล่ให้หนี
ลีลาลาดศึกเข้า...............................ในพลเคล้าเป็นกล
สองกองพลซ้ายขวา.........................ดูมรรคาชอบกล
เอาพลตั้งสองข้าง............................กองกลางง้างพลถอย
ศึกตามลอยแล่นไล่..........................ครั้นศึกไปล่ออกข้าง
คอยดูช้างดูม้า................................ ดูทวยค้ารี้พล
สบสกลโดยสำคัญ............................จึ่งกระทบกันเข้ารบ
สบสำเหนียกเสียกสา.........................อย่าให้คลาให้คลาด
ผาดเอาคงเอาวัน..............................หยิบเอาพลันจงได้
ไว้กำหนดนายกอง............................ช่างปองปูนจงสลับ
นับอ่านเร่งตรวจตรา...........................กลศึกอันนี้ชื่อว่า
กลราชปัญญา”
ถ้าทัพทั้งสองฝ่ายมีกำลังพอกัน มีแม่ทัพที่มีความสามารถพอกัน ท่านให้ใช้กลราชปัญญาเอาชัยกล่าวคือ การใช้สายลับจารชน ซึ่งสมัยก่อนนิยมใช้ผู้ทรงศีลสูงวัยเนื่องจากเป็นที่เคารพเกรงใจของเหล่าขุน พลฝ่ายตรงข้าม ให้เข้าไปยุแหย่ให้แตกแยก ไปให้สินบนต่างๆนานา และล้วงความลับต่างๆ
กลยุทธ์ ๑๙ : กลฟ้าสนั่นสียง
“กลชื่อฟ้าสนั่นเสียง..........เรียงพลพยุหกำหนด
กดประกาศถึงตาย.....................หมายให้รู้ถ้วนตน
ปรนปันงานณรงค์......................ยวดยงกล่าวองอาจ
ผาดกำหนดกดตรา....................ยามล่าอย่าลืมตน
ทำยุบลสีหนารท.......................ดุจฟ้าฟาดแสงสาย
สำแดงการรุกรัน.......................ปล้นปลอมเอาชิงช่อง
ลวงเอาบุรีราชเสมา....................ตรารางวัลเงินทอง
ปองผ้าผ่อนแพรพรรณ................ยศอนันต์ผายผูก
ไว้ชั่วลูกชั่วหลาน.......................การช้างม้าพลหาญ
ใช้ชำนาญการรบ.......................สบได้แก้จงรอดราษฏร์
ดุจฟ้าฟาดเผาผลาญ...................แต่งทหารรั้งรายเรียง
เสียงคะเครงคะคร้าน..................ทังพื้นป่าคะครัน
สนั่นฆ้องกลองไชย....................สรในสรรพแตรสังข์
กระดึงดังฉานฉ่า........................ง่อนงาช้างรายเรียง
เสียงบรรณพาคร้านครั่น...............กล่าวกลศึกนั้น
ชื่อฟ้าสนั่นเสียง”
กลยุทธ์ฟ้าสนั่นเสียงคือ การใช้กำลังทางทหาร บุกตะลุยรวดเร็วอย่างฉับพลัน ใช้ฆ้องกลองแตรสร้างเสียงข่มขวัญข้าศึก ทำให้ไม่มีกำลังใจที่จะต่อกรกับเรา ประดุจเราตกใจกลัวเสียงฟ้าร้อง
กลยุทธ์ ๒๐ : กลเรียงหลักยืน
“กลศึกชื่อเรียงหลักยืน..........ให้ชมชื่นรุกราน
ผลาญให้ครอบทั่วพัน....................ผันเอาใจให้ชื่น
หื่นสร้างไร่สร้างนา.......................หาปลาล่วงแดนต่าง
โพนเลื่อนช้างล่วงแดนเขา..............เอาเป็นพี่เป็นน้อง
พร้องตั้งค่ายตั้งเวียง.....................บ้านถิ่นเรียงรายมั่น
เร่งกระชั้นเข้ารียงราย...................เกาะเอานายเอาไพร่
ไว้ใจกายใจถึง............................ระวังพึงจงให้
ใส่ไคร้เอาเป็นเพื่อน.....................ใครแข็งกล่นเกลื่อนเสีย
ให้เมียผูกรัดรึง............................ให้เป็นจึ่งม่ามสาย
รายรอบเอาจงมั่น.........................จงเอาชั้นเป็นกล
กลให้เขาลอบลัน.........................ปล้นบ้านถิ่นเถื่อนไปมา
ระวาเพศแทบเวียง........................กลศึกอันนี้ชื่อว่าเรียงหลักยืน”
กลยุทธ์นี้คือการค่อยขยายอำนาจอย่างใจเย็น ค่อย ๆ รุกรานเข้าชิงพื้นที่ทีละนิด แล้วส่งคนของเราเข้ามาสร้างความคุ้นเคยอยู่อาศัย แต่งงานอยู่กินจนกลายเป็นพวกเราเลย
กลยุทธ์ ๒๑ : กลปืนพระราม
“กลชื่อว่าปืนพระราม..........ว่าอย่ามีความโกรธขึ้ง
ทรอึงใจหนักพฤกษ์.....................สำแดงศึกใหญ่มา
พาธาจงคอยฟัง..........................ให้ระวังถอยแกล้ง
แม่นอย่าแอ่วแวนไว้....................ได้แล้วกลับคืนรอด
ริรอบปลอดมีชัย.........................หวั่นไหวใจศัตรู
ดูสนั่นใจเศร้า.............................ให้พระยศเจ้ารุ่งเรือง
เลื่องลือเดชหาญห้าว....................ทุกทั่วท้าวเกรงขาม
ชื่อปืนพระรามสำเร็จ.....................ยี่สิบเอ็ดกลณรงค์
ด้วยประสงค์ดั่งนี้”
มาถึงกลยุทธ์สุดท้าย กลยุทธ์นี้ใจความอยู่ที่ “สำแดงศึกใหญ่มา พาธาจงคอยฟัง ให้ระวังถอยแกล้ง” ก็คือให้รู้จักถอย เมื่อข้าศึกมีกำลังพลมหาศาลเกินกว่าที่จะเอาชนะได้ ต้องรู้จักถอย
บทที่ 13 การใช้สายลับ
กรีธาทัพสิบหมื่น ออกรบพันลี้ ฝ่ายราษฎร์ต้องจ่าย ฝ่ายหลวงต้องใช้ วันละพันตำลึงทอง วุ่นวางทั้งภายในภายนอก ราษฎรภูกเกณฑ์ไปเหนื่อยอยู่ตามทาง ทำไร่ไถนามิได้ มีเจ็บสิบหมื่นครัว
ยันกันอยู่หลายปี เพื่อชิงชัยในวันเดียว หากตระหนี่การใช้ยศศักดิ์ รางวัล จนมิรู้สภาพข้าศึก ก็ขาดเมตตาธรรมยิ่งนัก มิอาจเป็นแม่ทัพของไพร่พล มิอาจเป็นผู้ช่วยของเจ้านาย มิอาจเป็นเจ้านายผู้พิชิต
ฉะนั้น เหตุที่ประมุขผู้ปรีชาแม่ทัพผู้สามารถ กรีธาทัพชนะศึกสำเร็จผลเหนือผู้อื่น ก็เพราะล่วงรู้ก่อน การล่วงรู้ก่อน มิควรพึงผีสางเทวดา มิควรยึดแบบอย่างในอดีต มิควรถือฤกษ์เบิกยาม แต่พึงเอาจากคน ผู้รู้สภาพข้าศึก
ฉะนั้น การใช้จารชนมีห้า มีจารชนถิ่น มีจารชนใน มีจารชนซ้อน มีจารชนตาย มีจารชนเป็น ห้าจารชนใช้พร้อมกัน ข้าศึกมิรู้เหตุ นี้เรียกว่าอัศจรรย์ เป็นของวิเศษแห่งประมุข
จารชนถิ่น คือใช้คนพื้นเมืองข้าศึก จารชนในคือใช้ขุนนางข้าศึก จารชนซ้อน คือใช้จารชนข้าศึก จารชนตายคือผู้กระจายข่าวลวง ให้จารชนเราทราบ เพื่อแพร่ยังจารชนข้าศึก จารชนเป็น คือผู้กลับมารายงาน
ฉะนั้น ภารกิจของสามทัพ มิมีผู้ไว้ใจได้เท่าจารชน มิมีผู้ได้รางวัลเท่าจารชน มิมีเรื่องใดลึกลับเท่าจารชน ไม่ปราดปรื่องมิอาจใช้จารชน ไร้เมตตามิอาจบัญชาจารชน ไม่แยบยลมิอาจได้ความจริงจากจารชน แยบยลแสนจะแยบยล มิมีผู้แห่งใดใช้จารชนมิได้ แผนการจารชนมิทันใช้ มีผู้ล่วงรู้ก่อน ให้ตายทั้งจารชนและผู้รู้
กองทัพที่จะโจมตี เมืองที่จะเข้าบุก คนที่จะต้องฆ่า พึงรู้ชื่อแซ่ขุนทัพ คนสนิทซ้ายขวา ผู้สื่อสาร นายทวาร เหล่าบริวารก่อน ด้วยใช้จารชนเราสืบหามา
พึงสืบหาจารชนที่มาจารกรรมในฝ่ายเรา ชักจูงด้วยอามิสมอบงานและปล่อยกลับ ฉะนั้น จึงได้ตัวจารชนซ้อนมาใช้ เพราะได้รู้ข่าวจากนี้ ฉะนั้น จึงสามารถใช้จารชนถิ่นกับจารชนใน เพราะได้รู้ข่าวจากนี้ ฉะนั้น การกระจายข่าวลวงของจารชนตาย จึงแจ้งแก่ข้าศึกได้ เพราะได้รู้ข่างจากนี้ ฉะนั้น จารชนเป็นจึงใช้ได้ตามกำหนด งานของจารชนทั้งห้า เจ้านายพึงต้อรู้ ที่รู้ก็จากจารชนซ้อน ฉะนั้น จึงพึงตกรางวัลจารชนซ้อนให้ถึงขนาด
อดีตกาล ความรุ่งเรืองของราชวงศ์ซาง เพราะมีอีจื้อในแคว้นเซี่ย ความรุ่งเรืองของราชวงศ์โจว เพราะมีหลี่อหยาในแคว้นอิน ฉะนั้น จึงมีแต่ประมุขผู้ปรีชาแม่ทัพผู้สามารถเท่านั้น ที่สามรถใช้ผู้มีปัญญาชั้นเลิศเป็นจารชน จนได้รับความสำเร็จใหญ่หลวงนี้เป็นเรื่องสำคัญของการศึก อันสามทัพพึงยึดถือเพื่อเคลื่อนพล
บทวิเคราะห์
ซุนวูได้เน้นความสำคัญของการใช้จารชนสืบสภาพข้าศึกเป็นพิเศษในบทนี้ ถือว่าเป็นเรื่องสำคัญของการบัญชาทัพทำสงครามเรื่องหนึ่ง กองทัพจะต้องใช้ปฏิบัติการทางทหารตามข่าวกรองที่จารชนเสนอให้ ซุนวูบริภาษผู้ตระนี่ “การให้ยศศักดิ์รางวัล” ไม่ยอมใช้จารชนสืบ สภาพข้าศึกอย่างเล็งเห็นความสำคัญว่า “ขาดเมตตาธรรมยิ่งนัก มิอาจเป็นแม่ทัพของไพร่พล มิอาจเป็นผู้ช่วยของเจ้านาย มิอาจเป็นเจ้านายผู้พิชิต” ได้
ในปัญหาการเสาะแสวงหาข่าวเพื่อ “รู้เขา” ทำอย่างไรจึงจะสามารถ “ล่วงรู้ก่อน” ซึ่งสภาพข้าศึกนั้น ซุนวูชี้ว่า “การล่วงรู้ก่อน มิควรพึ่งผีสางเทวดา มิควรยึดแบบอย่างในอดีต มิควรถือฤกษ์เบิกยาม แต่พึงเอาจากคน ผู้รู้สภาพข้าศึก” นี้เป็นการแสดงออกที่เด่นชัดแห่งความคิดวัตถุนิยมที่เรียบง่ายของเขา ซึ่งตรงกันข้ามราวฟ้ากับดิน ราวขาวกับดำกับทัศนะถือพรมลิขิตและทฤษฎีคิดได้เอง ซึ่งเป็นจิตนิยมอื่นๆทั้งปวง
ในปัญหาการใช้จารชน ซุนวูยังได้เสนอทัศนะ “ห้าจารชน ใช้พร้อมกัน ข้าศึกมิรู้เหตุ” เน้นให้ใช้จารชนทุกประเภท เพื่อเปิดแหล่งที่มาของข่าวกรองให้กว้างขวาง ทำให้ข้าศึกตกอยู่ในความงงงวยมิรู้ที่จะรับมือแต่ประการใด
ในขณะเดียวกัน ซุนวูก็ชี้ว่า “ไม่ปราดเปรื่องมิอาจใช้จารชน” “ไม่แยบยลมิอาจได้ความจริงจากจารชน” เน้นว่า ในขณะใช้จารชนนั้นจะต้องมีความฉลาดเฉียบแหลม กล้าหาญและประณีตรอบคอบ เพื่อป้องกันมิให้ถูกข้าศึกหลอกลวงและใช้เป็นประโยชน์
กลุ่มผลประโยชน์หรือชนชั้นที่ต่างกันย่อมจะมีบรรทัดฐานแห่งศีลธรรมที่แตกต่างกัน ในบทนี้ ซุนวูถือว่าผู้ที่ไม่คำนึงถึง “ฝ่ายราษฎร์ต้องจ่าย ฝ่ายหลวงต้องใช้ วันละพันตำลึงทอง” “ยันกันอยู่หลายปีเพื่อชิงชัยวันเดียว” แต่กลับตระหนี่การให้ยศศักดิ์รางวัล ไม่ยอมใช้จารชนอย่างให้ความสำคัญ จนทำให้ต้องรบแพ้เพราะไม่รู้สภาพข้าศึกนั้นเป็นคน “ขาดเมตตาธรรมยิ่งนัก”
ขณะที่ซุนวูอธิบายถึงความสำคัญของการใช้จารชนนั้น ได้ขยายบทบาทของ “ใช้ผู้มีปัญญาชั้นเลิศเป็นจารชน” จนเกินเหตุ กระทั่งถือเอากรณีซางล้มเซี่ย โจวล้มอิน ให้เป็นบทบาทเอกชนของบุคลที่เรียกว่า “ผู้มีปัญญาชั้นเลิศ” เห็นชัดว่าไม่ถูกต้อง นี้เป็นการแสดงออกอีกอย่างหนึ่งแห่งทัศนะวีรชนสร้างประวัติศาสตร์ของซุนวู
ยันกันอยู่หลายปี เพื่อชิงชัยในวันเดียว หากตระหนี่การใช้ยศศักดิ์ รางวัล จนมิรู้สภาพข้าศึก ก็ขาดเมตตาธรรมยิ่งนัก มิอาจเป็นแม่ทัพของไพร่พล มิอาจเป็นผู้ช่วยของเจ้านาย มิอาจเป็นเจ้านายผู้พิชิต
ฉะนั้น เหตุที่ประมุขผู้ปรีชาแม่ทัพผู้สามารถ กรีธาทัพชนะศึกสำเร็จผลเหนือผู้อื่น ก็เพราะล่วงรู้ก่อน การล่วงรู้ก่อน มิควรพึงผีสางเทวดา มิควรยึดแบบอย่างในอดีต มิควรถือฤกษ์เบิกยาม แต่พึงเอาจากคน ผู้รู้สภาพข้าศึก
ฉะนั้น การใช้จารชนมีห้า มีจารชนถิ่น มีจารชนใน มีจารชนซ้อน มีจารชนตาย มีจารชนเป็น ห้าจารชนใช้พร้อมกัน ข้าศึกมิรู้เหตุ นี้เรียกว่าอัศจรรย์ เป็นของวิเศษแห่งประมุข
จารชนถิ่น คือใช้คนพื้นเมืองข้าศึก จารชนในคือใช้ขุนนางข้าศึก จารชนซ้อน คือใช้จารชนข้าศึก จารชนตายคือผู้กระจายข่าวลวง ให้จารชนเราทราบ เพื่อแพร่ยังจารชนข้าศึก จารชนเป็น คือผู้กลับมารายงาน
ฉะนั้น ภารกิจของสามทัพ มิมีผู้ไว้ใจได้เท่าจารชน มิมีผู้ได้รางวัลเท่าจารชน มิมีเรื่องใดลึกลับเท่าจารชน ไม่ปราดปรื่องมิอาจใช้จารชน ไร้เมตตามิอาจบัญชาจารชน ไม่แยบยลมิอาจได้ความจริงจากจารชน แยบยลแสนจะแยบยล มิมีผู้แห่งใดใช้จารชนมิได้ แผนการจารชนมิทันใช้ มีผู้ล่วงรู้ก่อน ให้ตายทั้งจารชนและผู้รู้
กองทัพที่จะโจมตี เมืองที่จะเข้าบุก คนที่จะต้องฆ่า พึงรู้ชื่อแซ่ขุนทัพ คนสนิทซ้ายขวา ผู้สื่อสาร นายทวาร เหล่าบริวารก่อน ด้วยใช้จารชนเราสืบหามา
พึงสืบหาจารชนที่มาจารกรรมในฝ่ายเรา ชักจูงด้วยอามิสมอบงานและปล่อยกลับ ฉะนั้น จึงได้ตัวจารชนซ้อนมาใช้ เพราะได้รู้ข่าวจากนี้ ฉะนั้น จึงสามารถใช้จารชนถิ่นกับจารชนใน เพราะได้รู้ข่าวจากนี้ ฉะนั้น การกระจายข่าวลวงของจารชนตาย จึงแจ้งแก่ข้าศึกได้ เพราะได้รู้ข่างจากนี้ ฉะนั้น จารชนเป็นจึงใช้ได้ตามกำหนด งานของจารชนทั้งห้า เจ้านายพึงต้อรู้ ที่รู้ก็จากจารชนซ้อน ฉะนั้น จึงพึงตกรางวัลจารชนซ้อนให้ถึงขนาด
อดีตกาล ความรุ่งเรืองของราชวงศ์ซาง เพราะมีอีจื้อในแคว้นเซี่ย ความรุ่งเรืองของราชวงศ์โจว เพราะมีหลี่อหยาในแคว้นอิน ฉะนั้น จึงมีแต่ประมุขผู้ปรีชาแม่ทัพผู้สามารถเท่านั้น ที่สามรถใช้ผู้มีปัญญาชั้นเลิศเป็นจารชน จนได้รับความสำเร็จใหญ่หลวงนี้เป็นเรื่องสำคัญของการศึก อันสามทัพพึงยึดถือเพื่อเคลื่อนพล
บทวิเคราะห์
ซุนวูได้เน้นความสำคัญของการใช้จารชนสืบสภาพข้าศึกเป็นพิเศษในบทนี้ ถือว่าเป็นเรื่องสำคัญของการบัญชาทัพทำสงครามเรื่องหนึ่ง กองทัพจะต้องใช้ปฏิบัติการทางทหารตามข่าวกรองที่จารชนเสนอให้ ซุนวูบริภาษผู้ตระนี่ “การให้ยศศักดิ์รางวัล” ไม่ยอมใช้จารชนสืบ สภาพข้าศึกอย่างเล็งเห็นความสำคัญว่า “ขาดเมตตาธรรมยิ่งนัก มิอาจเป็นแม่ทัพของไพร่พล มิอาจเป็นผู้ช่วยของเจ้านาย มิอาจเป็นเจ้านายผู้พิชิต” ได้
ในปัญหาการเสาะแสวงหาข่าวเพื่อ “รู้เขา” ทำอย่างไรจึงจะสามารถ “ล่วงรู้ก่อน” ซึ่งสภาพข้าศึกนั้น ซุนวูชี้ว่า “การล่วงรู้ก่อน มิควรพึ่งผีสางเทวดา มิควรยึดแบบอย่างในอดีต มิควรถือฤกษ์เบิกยาม แต่พึงเอาจากคน ผู้รู้สภาพข้าศึก” นี้เป็นการแสดงออกที่เด่นชัดแห่งความคิดวัตถุนิยมที่เรียบง่ายของเขา ซึ่งตรงกันข้ามราวฟ้ากับดิน ราวขาวกับดำกับทัศนะถือพรมลิขิตและทฤษฎีคิดได้เอง ซึ่งเป็นจิตนิยมอื่นๆทั้งปวง
ในปัญหาการใช้จารชน ซุนวูยังได้เสนอทัศนะ “ห้าจารชน ใช้พร้อมกัน ข้าศึกมิรู้เหตุ” เน้นให้ใช้จารชนทุกประเภท เพื่อเปิดแหล่งที่มาของข่าวกรองให้กว้างขวาง ทำให้ข้าศึกตกอยู่ในความงงงวยมิรู้ที่จะรับมือแต่ประการใด
ในขณะเดียวกัน ซุนวูก็ชี้ว่า “ไม่ปราดเปรื่องมิอาจใช้จารชน” “ไม่แยบยลมิอาจได้ความจริงจากจารชน” เน้นว่า ในขณะใช้จารชนนั้นจะต้องมีความฉลาดเฉียบแหลม กล้าหาญและประณีตรอบคอบ เพื่อป้องกันมิให้ถูกข้าศึกหลอกลวงและใช้เป็นประโยชน์
กลุ่มผลประโยชน์หรือชนชั้นที่ต่างกันย่อมจะมีบรรทัดฐานแห่งศีลธรรมที่แตกต่างกัน ในบทนี้ ซุนวูถือว่าผู้ที่ไม่คำนึงถึง “ฝ่ายราษฎร์ต้องจ่าย ฝ่ายหลวงต้องใช้ วันละพันตำลึงทอง” “ยันกันอยู่หลายปีเพื่อชิงชัยวันเดียว” แต่กลับตระหนี่การให้ยศศักดิ์รางวัล ไม่ยอมใช้จารชนอย่างให้ความสำคัญ จนทำให้ต้องรบแพ้เพราะไม่รู้สภาพข้าศึกนั้นเป็นคน “ขาดเมตตาธรรมยิ่งนัก”
ขณะที่ซุนวูอธิบายถึงความสำคัญของการใช้จารชนนั้น ได้ขยายบทบาทของ “ใช้ผู้มีปัญญาชั้นเลิศเป็นจารชน” จนเกินเหตุ กระทั่งถือเอากรณีซางล้มเซี่ย โจวล้มอิน ให้เป็นบทบาทเอกชนของบุคลที่เรียกว่า “ผู้มีปัญญาชั้นเลิศ” เห็นชัดว่าไม่ถูกต้อง นี้เป็นการแสดงออกอีกอย่างหนึ่งแห่งทัศนะวีรชนสร้างประวัติศาสตร์ของซุนวู
บทที่ 12 โจมตีด้วยเพลิง
อันการโจมตีด้วยเพลิงมีห้า หนึ่งคือเผาไพร่พล สองคือเผายุ้งฉาง สามคือเผายุทธสัมภาระ สี่คือเผาคลังพัสดุ ห้าคือเผาอุปกาณ์ขนส่ง
ใช้เพลิงพึงดูโอกาส ของใช้พึงเตียมให้พร้อม วางเพลิงพึงดูเวลา จุดเพลิงพึงกำหนดวัน
ที่ว่าเวลา คือความแห้งแล้วของอากาศ ที่ว่าวัน คือดวงจันทร์โคจรไปถึงตำแหน่ง จี ปี้ อี้ เจิ่น อันสี่ตำแหน่งนี้เป็นวันลมจัด
อันการโจมตีด้วยเพลิวนั้น พึงใช้กำลังพลรุกประสานตามลักษณะเพลิทั้งห้า เพลิงไหม้จากภายใน พึงรุกประสานจากภายนอกโดยเร็ว เพลิงไหม้ข้าศึกสงบเงียบ ให้รออย่าบุก เมื่อเพลิงไหม้แรง ควรบุกให้บุก ไม่ควรบุกให้ยั้ง เพลิงวางจากภายนอกได้ อย่ารอจากภายใน ให้วางเพลิงตามเวลา เพลิงไหม้เหนือลม อย่าบุกใต้ลม กลางวันลมนาน กลางคือลมหยุด การทำศึกพึงรู้การเปลี่ยนของเพลิงทั้งห้า คำนวณเวลาเฝ้ารอโอกาส
ฉะนั้น ใช้เพลิงช่วยการโจมตีจักมีผลชัด ใช้น้ำช่วยการโจมตีจักเสริมให้แกร่ง น้ำตัดข้าศึกได้ แต่เผด็จศึกมิได้
อันการรบชนะได้ดินแดนมาแล้ว หากมิเสริมให้มั่นคง จักเป็นอันตราย เรียกว่าการสิ้นเปลืองอันสูนเปล่า ฉะนั้นจึงกล่าวว่า เจ้านายผู้ชาญฉลาดพึงไต่ตรองจงหนัก แม่ทัพผู้ยอดเยี่ยมพึงดำเนินการรอบคอบ ไม่เป็นผลดีไม่กรีธาทัพ ไม่มีผลได้ไม่ใช้กำลัง หากไม่คับขันจักไม่ออกรบ
เจ้านายมิควรเคลื่อนพลเพราะกริ้ว แต่ทัพมิควรทำศึกเพราะโกรธ ต้องด้วยประโยชน์ก็เคลื่อน ไม่ต้องด้วยประโยชน์ก็หยุด กริ้วอาจกลายเป็นรัก โกรธอาจกลายเป็นชอบ แต่สูญชาติมิอาจกลับคืน สิ้นชีพมิอาจกลับฟื้น
ฉะนั้น ประมุขผู้ชาญฉลาดพึงสุขุม แม่ทัพผู้ยอดเยี่ยมพึงระวัง นี้คือหลักแห่งความสงบสุขของบ้านเมืองและความปลอดภัยของกองทัพ
บทวิเคราะห์
การโจมตีด้วยเพลิงเป็นรูปแบบการรบอย่างหนึ่งในสมัยโบราณ การที่ซุนวูยกเรื่องนี้ไว้เป็นบทเฉพาะโดยอธิ บายถึงประเภท เงื่อนไขและวิธีปฏิบัติของการโจมตีด้วยเพลิงอย่างค่อนข้างละเอียดนั้น แสดงให้เห็นว่าเขาได้ให้ความสนใจต่อการโจมตีด้วยเพลิงเป็นอันมาก
ขณะที่ซุนวูเสนอว่า "ผู้ใช้เพลิงพึงดูโอกาส ของใช้พึงเตรียมให้พร้อม” อันเป็นเงื่อนไขทางวัตถุของวิธีปฏิบัติการโจมตีด้วยเพลิงนั้น ก็ได้เน้นเป็นพิเศษในด้านเงื่อนไขลมฟ้าอากาศว่า "วางเพลิงพึงดูเวลา จุดเพลิงพึงกำหนดวัน" นี้เป็นบันทึกการใช้เพลิงและลมฟ้าอากาศอันเป็นเงื่อนไขทางธรรมชาต ิในทางการทหารเกือบจะก่อนนักการทหารผู้อื่นใดทั้งสิ้น ซึ่งก็เป็นการนำมาใช้ซึ่งเงื่อนไขลมฟ้าอากาศอย่างเป็นรูปธรรมใน “ห้าเรื่อง” คือ “คุณธรรม ลมฟ้าอากาศ ภูมิประเทศ แม่ทัพ กฎระเบียบ” ที่ซุนวูได้กล่าวไว้ใน ประเมนศึก บทที่ 1
ซุนวูแม้จะเห็นความสำคัญของการโจมตีด้วยเพลิง แต่เขาก็ถือการวางเพลิงเป็นรูปแบบอันเป็นส่วนช่วยการรบเท่านั้น เขาเน้นว่าจะต้องประสานอย่างแน่นแฟ้นกับการบุกของทหาร
เขาชี้ว่า “ใช้เพลิงช่วย การโจมตีจะมีผลชัด ใช้น้ำช่วยการโจมตีจักเสริมให้แกร่ง”
ซุนวูเข้าใจว่า การโจมตีด้วยเพลิงและการโจมตีด้วยน้ำแม้จะมีอนุภาพค่อนข้างใหญ่โต แต่ถ้าหากไม่ทุ่มกำลังทหารเข้าไปเปิดการโจมตีประสานอย่างทันท่วงทีแล้ว ก็ไม่สามารถจะได้รับความสำเร็จได้
ฉะนั้น ซุนวูจึงชี้อย่างชัดเจนว่า “พึงใช้กำลังพลรุกประสานตามลักษณะเพลิง ทั้งห้า” กล่าวคือ จะต้องถือสภาพการเปลี่ยนแปลงของข้าศึกที่เกิดจากการวางเพลิง ปัญชาทหารบุกเข้าโจมตีอย่างทันกาล เพื่อพัฒนาและขยายผลการรบให้กว้างใหญ่ออกไป
ซุนวูยังได้เน้นให้ประมุขและแม่ทัพจะต้องให้ความระมัดระวัง รอบคอบอย่างยิ่งยวดต่อการทำสงครางไว้ในบทนี้ ชี้ว่า “เจ้านายมิควรเคลื่อนพลเพราะกริ้ว แม่ทัพมิควรทำศึกเพระโกรธ” ควรจะยึดกุม “หลังแห่งความสงบสุขของบ้านเมืองและควมปลอดภัยของกองทัพ”
คือ “ต้องด้วยประโยชน์ก็เคลื่อน ไม่ต้องด้วยประโยชน์ก็หยุด”
ความคิดให้สุขุมรอบคอบในการก่อสงครามเช่นนี้ของซุนวู เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับความคิดที่เล็งเห็นความสำคัญของสงครามว่า “อันสงครามนั้น เป็นเรื่องสำคัญของประเทศชาติจักไม่พินิจ พิเคราะห์มิได้” ของเขา ที่กล่าวไว้ใน ประเมินศึก บทที่ 1 ซึ่งได้เตือนให้ผู้บัญชาสงครามไม่ควรจะใช้อารมณ์ ตัดสินใจทำสงรามอย่างเบาปัญญา
ความคิดเล็งเห็นความสำคัญของการทำสงคราม และความคิดให้รอบคอบในการทำสงคราของซุนวูดังนี้ มีคุณค่าอย่างสูง นับเป็นลักษณะพิเศษสำคัญของความคิดการทหารที่ก้าวหน้าก่อนสมัยราชวงศ์ฉินแต่เก่าก่อนโน้น
ใช้เพลิงพึงดูโอกาส ของใช้พึงเตียมให้พร้อม วางเพลิงพึงดูเวลา จุดเพลิงพึงกำหนดวัน
ที่ว่าเวลา คือความแห้งแล้วของอากาศ ที่ว่าวัน คือดวงจันทร์โคจรไปถึงตำแหน่ง จี ปี้ อี้ เจิ่น อันสี่ตำแหน่งนี้เป็นวันลมจัด
อันการโจมตีด้วยเพลิวนั้น พึงใช้กำลังพลรุกประสานตามลักษณะเพลิทั้งห้า เพลิงไหม้จากภายใน พึงรุกประสานจากภายนอกโดยเร็ว เพลิงไหม้ข้าศึกสงบเงียบ ให้รออย่าบุก เมื่อเพลิงไหม้แรง ควรบุกให้บุก ไม่ควรบุกให้ยั้ง เพลิงวางจากภายนอกได้ อย่ารอจากภายใน ให้วางเพลิงตามเวลา เพลิงไหม้เหนือลม อย่าบุกใต้ลม กลางวันลมนาน กลางคือลมหยุด การทำศึกพึงรู้การเปลี่ยนของเพลิงทั้งห้า คำนวณเวลาเฝ้ารอโอกาส
ฉะนั้น ใช้เพลิงช่วยการโจมตีจักมีผลชัด ใช้น้ำช่วยการโจมตีจักเสริมให้แกร่ง น้ำตัดข้าศึกได้ แต่เผด็จศึกมิได้
อันการรบชนะได้ดินแดนมาแล้ว หากมิเสริมให้มั่นคง จักเป็นอันตราย เรียกว่าการสิ้นเปลืองอันสูนเปล่า ฉะนั้นจึงกล่าวว่า เจ้านายผู้ชาญฉลาดพึงไต่ตรองจงหนัก แม่ทัพผู้ยอดเยี่ยมพึงดำเนินการรอบคอบ ไม่เป็นผลดีไม่กรีธาทัพ ไม่มีผลได้ไม่ใช้กำลัง หากไม่คับขันจักไม่ออกรบ
เจ้านายมิควรเคลื่อนพลเพราะกริ้ว แต่ทัพมิควรทำศึกเพราะโกรธ ต้องด้วยประโยชน์ก็เคลื่อน ไม่ต้องด้วยประโยชน์ก็หยุด กริ้วอาจกลายเป็นรัก โกรธอาจกลายเป็นชอบ แต่สูญชาติมิอาจกลับคืน สิ้นชีพมิอาจกลับฟื้น
ฉะนั้น ประมุขผู้ชาญฉลาดพึงสุขุม แม่ทัพผู้ยอดเยี่ยมพึงระวัง นี้คือหลักแห่งความสงบสุขของบ้านเมืองและความปลอดภัยของกองทัพ
บทวิเคราะห์
การโจมตีด้วยเพลิงเป็นรูปแบบการรบอย่างหนึ่งในสมัยโบราณ การที่ซุนวูยกเรื่องนี้ไว้เป็นบทเฉพาะโดยอธิ บายถึงประเภท เงื่อนไขและวิธีปฏิบัติของการโจมตีด้วยเพลิงอย่างค่อนข้างละเอียดนั้น แสดงให้เห็นว่าเขาได้ให้ความสนใจต่อการโจมตีด้วยเพลิงเป็นอันมาก
ขณะที่ซุนวูเสนอว่า "ผู้ใช้เพลิงพึงดูโอกาส ของใช้พึงเตรียมให้พร้อม” อันเป็นเงื่อนไขทางวัตถุของวิธีปฏิบัติการโจมตีด้วยเพลิงนั้น ก็ได้เน้นเป็นพิเศษในด้านเงื่อนไขลมฟ้าอากาศว่า "วางเพลิงพึงดูเวลา จุดเพลิงพึงกำหนดวัน" นี้เป็นบันทึกการใช้เพลิงและลมฟ้าอากาศอันเป็นเงื่อนไขทางธรรมชาต ิในทางการทหารเกือบจะก่อนนักการทหารผู้อื่นใดทั้งสิ้น ซึ่งก็เป็นการนำมาใช้ซึ่งเงื่อนไขลมฟ้าอากาศอย่างเป็นรูปธรรมใน “ห้าเรื่อง” คือ “คุณธรรม ลมฟ้าอากาศ ภูมิประเทศ แม่ทัพ กฎระเบียบ” ที่ซุนวูได้กล่าวไว้ใน ประเมนศึก บทที่ 1
ซุนวูแม้จะเห็นความสำคัญของการโจมตีด้วยเพลิง แต่เขาก็ถือการวางเพลิงเป็นรูปแบบอันเป็นส่วนช่วยการรบเท่านั้น เขาเน้นว่าจะต้องประสานอย่างแน่นแฟ้นกับการบุกของทหาร
เขาชี้ว่า “ใช้เพลิงช่วย การโจมตีจะมีผลชัด ใช้น้ำช่วยการโจมตีจักเสริมให้แกร่ง”
ซุนวูเข้าใจว่า การโจมตีด้วยเพลิงและการโจมตีด้วยน้ำแม้จะมีอนุภาพค่อนข้างใหญ่โต แต่ถ้าหากไม่ทุ่มกำลังทหารเข้าไปเปิดการโจมตีประสานอย่างทันท่วงทีแล้ว ก็ไม่สามารถจะได้รับความสำเร็จได้
ฉะนั้น ซุนวูจึงชี้อย่างชัดเจนว่า “พึงใช้กำลังพลรุกประสานตามลักษณะเพลิง ทั้งห้า” กล่าวคือ จะต้องถือสภาพการเปลี่ยนแปลงของข้าศึกที่เกิดจากการวางเพลิง ปัญชาทหารบุกเข้าโจมตีอย่างทันกาล เพื่อพัฒนาและขยายผลการรบให้กว้างใหญ่ออกไป
ซุนวูยังได้เน้นให้ประมุขและแม่ทัพจะต้องให้ความระมัดระวัง รอบคอบอย่างยิ่งยวดต่อการทำสงครางไว้ในบทนี้ ชี้ว่า “เจ้านายมิควรเคลื่อนพลเพราะกริ้ว แม่ทัพมิควรทำศึกเพระโกรธ” ควรจะยึดกุม “หลังแห่งความสงบสุขของบ้านเมืองและควมปลอดภัยของกองทัพ”
คือ “ต้องด้วยประโยชน์ก็เคลื่อน ไม่ต้องด้วยประโยชน์ก็หยุด”
ความคิดให้สุขุมรอบคอบในการก่อสงครามเช่นนี้ของซุนวู เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับความคิดที่เล็งเห็นความสำคัญของสงครามว่า “อันสงครามนั้น เป็นเรื่องสำคัญของประเทศชาติจักไม่พินิจ พิเคราะห์มิได้” ของเขา ที่กล่าวไว้ใน ประเมินศึก บทที่ 1 ซึ่งได้เตือนให้ผู้บัญชาสงครามไม่ควรจะใช้อารมณ์ ตัดสินใจทำสงรามอย่างเบาปัญญา
ความคิดเล็งเห็นความสำคัญของการทำสงคราม และความคิดให้รอบคอบในการทำสงคราของซุนวูดังนี้ มีคุณค่าอย่างสูง นับเป็นลักษณะพิเศษสำคัญของความคิดการทหารที่ก้าวหน้าก่อนสมัยราชวงศ์ฉินแต่เก่าก่อนโน้น
บทที่11 พื้นที่ต่างกัน 9 อย่าง
อันหลักแห่งการบัญชาทัพนั้น มียุทธภูมิซ่านเซ็น มียุทะภูมิเบา มียุทธภฺมิยื้นแย่ง มียุทธภูมิคาบเกี่ยว มียุทธภูมิสันจร มียุทธภูมิหนัก มียุทธภูมิวิบาก มียุทธภูมิโอบล้อม มียุทธภูมิมรณะ
เจ้าครองแคว้นรบในแดนตน เรียกว่ายุทธภูมิซ่านเซ็น
รุกเข้าแดนผู้อื่นไม่ลึก เรียกว่ายุทธภูมิเบา
เราได้ก็มีประโยชน์ เขาได้ก็มีประโยชน์ เรียกว่ายุทธภูมิยื้อแย่ง
เราไปก็ได้ เขามาก็ได้ เรียกว่ายุทธภูมิคาบเกี่ยว
เขตแดนต่อแดนสามฝ่าย ใครถึงก่อนจะได้มิตรมากหลายในปฐพี เรียกว่ายุทธภูมิสัญจร
รบลึกเข้าแดนผู้อื่น ทิ้งเมืองมากหลายไว้เบื้องหลัง เรียกว่ายุทธภูมิหนัก
เดินทัพในป่าเขา ที่คับขันอันตาย ห้วยหนองคลองบึง เส้นทางยากเข็ญเหล่านี้ เรียกว่ายุทธภูมิวิบาก
ทางเข้าเล็กแคบ ทางกลับวกวน เขากำลังน้อยสามารถตีเรากำลังมาก เรียกว่ายุทธภูมิโอบล้อม
รบไม่คิดชีวิตก็รอง รบไม่เต็มกำลังก็สิ้น เรียกว่ายุทธภูมิมรณะ
เหตุนี้ ในยุทธภูมิซ่านเซ็นอย่ารบ ในยุทธภูมิเบาอย่าหยุด ในยุทธภูมิยื้อแย่งอย่าฝืน ในยุทธภูมิคาบเกี่ยวพึงหนุนเนื่อง ในยูธภูมิสันจรพึงคบมิตร ในยุทธภูมิหนักพึงกวาดต้อน ในยุธภูมิวิบากพึงรีบผ่าน ในยุธภูมิโอบล้อมใช้อุบาย ในยุทธภูมิมรณะรบสุดชีวิต
ผู้สันทัดการบัญชาทัพแต่โบราณกาล สามารถตัดหน้าหลังข้าศึกขาดจากกัน ทัพใหญ่ทัพเล็กมิอาจพึ่งกัน นายกับพลมิอาจช่วยกัน หน่วยบนหน่วยล่างมิอาจรวมกัน ไพร่พลกระเจิงไม่เป็นกลุ่มก้อน รวมพลก็ไม่ครบถ้วน ได้ประโยชน์ก็รบ ไม่ได้ประโยชน์ก็หยุด ใคร่ถามว่า “ข้าศึกมากเป็นขบวนจะบุกมา พึงทำฉันใด” ตอบว่า “ยึดจุดสำคัญข้าศึกก่อน จักคล้อยตามเรา”
การทำศึกสำคัญที่รวดเร็ว ฉวยโอกาสข้าศึกไม่รู้ตัวบุกในเส้นทางที่ไม่คาดคิด ตีจุดที่มิได้ป้องกัน
อันหลักแห่งการรบเข้าแดนข้าศึกนั้น เมื่อลึกจะมุ่งมั่น ข้าศึกมิอาจต้าน กว้านเสบียงจากแหล่งอุดม สามพันจักมีอาหารพอ เลี้ยงไพร่พลอย่างให้เหนื่อยยาก บำรุงขวัญสะสมกำลัง เคลื่อนพลพึงใช้อุบาย จนมิอาจคาดการณ์ ทุ่มไพร่พลสู่ที่อับ ก็ยอมตายมิยอมพ่าย เมื่อสู้ตายย่อมได้ผล ไพร่พลจึงรบเต็มกำลัง แม้ตกอยู่ในอันตรายก็มิพรั่น หมดทางไปใจยิ่งมั่นคง ยึงลึกยิ่งเหนียวแน่น เมื่อจำเป็นจักสู้
เหตุนี้ ไพร่พลมิต้องกำชับก็รู้ระวัง มิต้องบอกกล่าวก็ทำสำเร็จ มิต้องบังคับก็ร่วมใจกาย มิต้องสั่งการ ก็เคร่งวินัย ปราบความงมงาย คลายความกังขา แม้รบจนตัวตายก็มิหลีกหนี
ไพร่พลเราไร้ทรัพย์สิน ใช่เพราะเกลียดสมบัติ ไม่กลัวตายใช้เพราะชังชีวิต ในวันออกคำสั่งรบ ไพร่พลที่นั่งน้ำตาก็ชุ่มเสื้อ ที่นอนน้ำตาก็อาบแก้ม แม้จะไปรบในที่อับจน ก็หาญกล้าดุจจวนจูฉาวกุ้ย
ฉะนั้น ผู้สันทัดการบัญชาทัพ ก็จักเป็นเช่นส้วยหราง อันส่วยหรางนั้น คืออสรพิษเขาฉางซาน ตีหัวหางจักฉก ตีหางหัวจักฉก ตีท่อนกลางหัวหางฉกพร้อมกัน ใคร่ถามว่า จักให้กองทัพเป็นดั่งส้วยหรางได้หรือไม่” ตอบว่า “ได้” เหมือนชาวแคว้นอู่กับแคว้นแย่เกลียดชังกัน ครั้งลงเรือลำเดียวกันข้ามฟาก เจอพายุ ก็ช่วยกัน ประหนึ่งแขนซ้ายขวา เหตุนี้ การผูกม้าฝังล้อรถเพื่อเรียกขวัญ จึงมิพึงยึดถือความหาญกล้าเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว เกิดจากการบัญชาอันควรเข้มแข็ง หรือ่อนแอก็รบเต็มกำลัง เพราะรู้จักใช้ภูมิประเทศ ฉะนั้น ผู้สันทัดการบัญชาทัพ จึงควบคุมกองทัพได้ประดุจคนคนเดียว นี้เป็นความจำเป็น
อันหน้าที่ขอแม่ทัพพึงเยือกเย็นเพื่อขบคิด พึงเทียงธรรมเพื่อปกครอง สามารถอำพรางหูตาไพร่พล ให้มิรู้ความ ยามเปลี่ยนภารกิจปรับกลอุบาย ก็ไม่มีผู้ใดสำนึก ยามเปลี่ยนที่ตั้งค่าย ยกทัพวกวน ก็ไม่มีผู้ใดตระหนัก ยามมอบหน้าที่ไพร่พล ก็เหมือนให้ไต่ที่สูงแล้วชักบันได ยามรุกเข้าแดนเจ้าครองแคว้นอื่น ก็ประดุจน้าวลั่นเครื่องยิงเกาทัณฑ์ เผาเรือทุบหน้อข้าว ดังหนึ่งต้อนฝูงแกะ ขับให้ไปไล่ให้มา มิล่วงรู้ความประสงค์ รวบรวมไพร่พลสามทัพ ส่งยังที่อันตราย นี่คือหน้าที่แม่ทัพ
การเปลี่ยนแปลงของเก้ายุทธภูมิ ประโยชน์ของการยืดหยุ่น วิสัยของจิตมนุษย์ จักไม่พินิจพิเคราะห์ไม่ได้
อันหลักแห่งการรุกเข้าแดนข้าศึกนั้น เมื่อลึกจะมุ่งมั่นเมื่อตื้นจะซ่านเซ็น การกรีธาทัพจากบ้านเมืองข้ามพรมแดนไปเป็นยุทธภูมิอับ ไปมาสะดวก เป็นยุทธภูมิสันจร บุกลึกเข้าไปเป็นยุทธภูมิหนัก บุกค่อนข้างตื้น เป็นยุทธภูมิเบา เบื้องหลังคับขัน เบื้องหน้าเล็กแคบ เป็นยุทธภูมิโอบล้อม ไปไหนมิได้ เป็นยุทธภูมิมรณะ
เหตุนี้ ในยุทธภูมิซ่านเซ็น เราพึงรวมใจให้เป็นหนึ่ง ในยุทธภูมิเบา เราพึงทำให้เชื่อมต่อกัน ในยุทธภูมิยื้อแย่ง เราพึงอ้อมไปหลังข้าศึก ในยุทธภูมิคาบเกี่ยว เราพึงรักษาให้เข้มงวด ในยุทธภูมิสัญจร เราพึงคบมิตรให้แน่นแฟ้น ในยุทธภูมิหนัก เราพึงให้อาหารไม่ขาดตอน ในยุทธภูมิวิบาก เราพึงเร่งเดินทัพให้พ้น ในยุทธภูมิโอบล้อม เราพึงอุดช่องโหวให้แน่น ในยุทธภูมิมรณะ เราพึงแสดงว่ายอมตาย ฉะนั้น จิตใจของไพร่พล ถูกล้อมก็ต้าน จำเป็นก็สู้ คับขันก็ฟังบัญชา
เหตุนี้ หากมิรู้เจตจำนงเข้าครองแค้น ก็มิพึงคบหา มิรู้ลักษณะป่าเขา ที่คับขันอันตราย ห้วยหนองคลองบึง ก็มิอาจเดินทัพ ไม่ใช้มัคคุเทศก์พื้นเมือง ก็มิได้ประโยชน์จากภูมิประเทศ ผลดีชั่วของเก้ายุทธภูมิ มิรู้แม้เพียงหนึ่งเดียว ก็ไม่ใช้กองทัพผู้พิชิต อันกองทัพผู้พิชิตนั้น เมื่อบุกประเทศใหญ่ ทวยราษฎร์ก็มิทันรวมผล ครั้นข่มศัตรูด้วยแสนยานุภาพ การผูกมิตรกมิ็สัมฤทธิ์ผล เหตุนี้ จึงมิจำต้องชิงผูกมิตรในปฐพี มิจำต้องเสริมอำนาจในแผ่นดิน เชื่อในกำลังตน ครั้นข่มศัตรูด้วยแสนยานุภาพ ก็จักยึดเมือง ล่มประเทศนั้นได้ การให้รางวัลเกินระเบียบ ออกคำสั่งนอกกำหนด จักปัญชาไพร่พลสามทัพประหนึ่งคนคนเดียว ให้ปฏิบัติภารกิจ ก็มิต้องชี้แจง ให้ช่วงชิงผลประโยชน์ ก็มิต้องแจ้งภัย ส่งไปที่ม้วยจึงอยู่ ตกในที่ตายจึงเป็น ไพร่พลตกอยู่ในอันตราย จึงจักรู้แพ้รู้ชนะ
ฉะนั้น การบัญชาทัพ อยู่ที่แสร้งคล้อยตามข้าศึก ทะลวงข้าศึกในจุดเดียว ไล่สังหารขุนพลพันลี้ นี้คือที่ว่า ความแยบยลเป็นผลให้งานเสร็จ
เหตุนี้ เมื่อกำหนดการศึกแล้ว พึงปิดด่านตรวจสาร ไม่ส่งทูตแก่กัน ประมาณการณ์รอบคอบในศาลเทพารักษ์ เพื่อวินิจแผนรบเมื่อข้าศึดเปิดโอกาส พึงรีบโหมบุก รุกยึดจุดสำคัญก่อน อย่านัดวันประจัญบาน พึงปรับแผนตามภาวะข้าศึก เพื่อรบแตกหัก เหตุนี้พึงสงบเยี่ยงสาวพรหมจารีในชั้นแรก เมื่อข้าศึกเปิดช่อง จึงเร็จสุดดุจกระต่ายหลุดบ่วงในภายหลัง ข้าศึกต้านก็มิทัน
บทวิเคราะห์
ในบทนี้ ซุนวูได้จำแนกสนามรบออกเป็น 9 อย่าง ตามความตามความแตกต่างของที่ตั้งและผลสะเทือนของการรบ และได้เสนอหลักการรบและวิธีปฎิบัติในพื้นที่ที่ผิดแผกไปโดยสอดคล้องกัน อันได้สะท้องถึงความคิดชี้นำที่เป็นวัตถุนิยมแบบง่ายๆ ของกลุ่มผลประโยชน์ที่เป็นเจ้าที่ดินเกิดใหม่
ซุนวูเริ่มต้นจากความเรียกร้องต้องการของกลุ่มผลประูโยชน์ใหม่ที่ใคร่จะพัฒนาตนเองอย่างรวมเร็ว จึงเสนอให้ดำิเนินสงครามผนวกดินแดน ดังข้อควาที่กล่าวไว้ในบนนี้ว่า "บุกประเทศใหญ่" โดยทางภววิสัยแล้ว ก็สอดคล้องกับกระแสประวัติศาสตร์ที่มีแนวโน้มในการรวมจีนให้เป็นเอกภาพนั้นเอง
ที่ซุนวูเสนอในบทนี้ว่า "การทำศึกสำคัญที่รวมเร็ว ฉวยโอกาสข้าศึกไม่รู้ตัว บุกในเส้นทางไม่คาดคิด ตีจุดที่มิได้ป้องกัน" และ "ทะลวงข้าศึกในจุดเดียว ไล่สังหารขุนพลพันลี้" อันเป็นความคิดชี้นำการรบนั้นล้วนแต่เป็นการประมวลรวบยอดความจัดเจนในการรบสมันนั้นเป็นอย่างดี
ซุนวูเห็นว่า การรบลึกเข้าไปในดินแดนข้าศึกมีผลดีหลายประการ ที่สำคัญคือหลังจากลึุกเข้าไปในประเทศข้าศึกแล้ว เหล่าทหารก็จะเชื่อฟังคำบัญชาการเป็นอย่างดี ไม่แตกฉานซ่านเซ็นได้ง่ายๆ ซึ่งซุนวูได้กล่าวไว้ว่า "อันหลักแห่งการรุกเข้าแดนข้าศึกนั้น เมื่อลึกจะมุ่งมั่น เมื่อตื้นจะซ่านเซ็น" เมื่อรบลึกเข้าไปในประเทศข้าศึกแล้ว ก็สามารถแก่ปัญหาการส่งกำลังบำรุงของกองทัพได้ ดังที่กล่าวไว้ว่า "กว้านเสบียงจากแหล่งอุดม สามทัพจักมีอาหารพอ
ซุนวูเห็นว่า เมื่อไพร่พลตกอยู่ในอันตราย ก็จะไม่มีความหวาดหวั่นพรั่นพรึง สู้รบอย่างไม่คิดชีวิต เช่นที่ว่าไว้ว่า "แม้ตกอยู่ในอันตรายก็มิหวั่น" "เมื่อจำเป็นจักสู้" "ทุ่มไพร่พลสู่ที่อับ ก็ยอมตายมิยอมพ่าย" อาศัยเหตุผลเหล่านี้ ซุนวูจึงได้ข้อสรุปว่า ภาระหน้าที่ของแม่ทัพคือ "รวบรวมไพร่พลสามทัพ ส่งยังที่อันตราย" ทัศนะของซุนวูข้อนี้ เห็นชัดว่า เป็นทัศนะของชนชั้นปกครองสมัยโบราณที่เห็นราษฏรเป็นผักปลา เท่านั้นเอง
กลุ่มผลประโยชน์ซึ่งเป็นเจ้าที่ดินที่เกิดใหม่ โดยธาตุแท้แล้วก็๋เป็นชนชั้นขูดรีดเช่นเดียวกับกลุ่มผลประโยชน์เก่าคือเจ้าของทาส แม้่ว่าการกดขี่ขูดรีดจะน้อยกว่าเจ้าของทาสก็ตาม ฉะนั้น จึงย่อมจะมีความขัดแย้ง ที่มิอาจจะประนีประนอมได้กับมวลประชาชนทั่วไป ดังนั้น ภายในกองทัพของชนชั้นปกครองเหล่านี้ จึงมีการปะทะกันทางผลประโยชน์ขึ้นพื้นฐานอยุ่เสมอ ด้วยเหตุนี้ พวกแม่ทัพจึงกล้วว่าหากรบอยู่ภายในประเทศหรือรบอยู่ในยุทธภูมิเบาที่ "รุกเข้าแดนผู้อื่นไม่ลึก" พวกทหารก็จะแตกฉานซ่านเซ็นหลบหนีกลับบ้านไปสิ้น จึงเห็นว่าควรเข้าไปอยู่ใน "ยุทธภูมิหนัก" ลึกเข้าไปในแดนข้าศึก เพื่อที่จะขับไล่ไพร่พลให้ไปสู้ตายเพื่อผลประโยชน์การแย่งยึดดินแดนผู้อื่นของตนจะดีกว่า พวกเขาจึงใช้วิธีการ "ส่งไปที่ม้วยจึงอยู่ ตกในที่ตายจึงเป็น" "ไต่ที่สูงแล้วชักบันได" อย่างสุดกำลัง และดำเนินนโยบายสร้างความโง่เขลาแก่ไพร่พล เช่น "สามารถอำพรางหูตาไพร่พล ให้มิรู้ความ" "ให้ช่วงชิงผลประโยชน์ ก็มิต้องแจ้งภัย" ทัศนะต่างๆของซุนวูในส่วนนี้ ล้วนเป็นเศษขยะของกลุ่มชนชั้นปกครองศักดินาสมัยโบราณทั้งสิ้น จะยึดถือในปัจจุบันมิไ้ด้
เจ้าครองแคว้นรบในแดนตน เรียกว่ายุทธภูมิซ่านเซ็น
รุกเข้าแดนผู้อื่นไม่ลึก เรียกว่ายุทธภูมิเบา
เราได้ก็มีประโยชน์ เขาได้ก็มีประโยชน์ เรียกว่ายุทธภูมิยื้อแย่ง
เราไปก็ได้ เขามาก็ได้ เรียกว่ายุทธภูมิคาบเกี่ยว
เขตแดนต่อแดนสามฝ่าย ใครถึงก่อนจะได้มิตรมากหลายในปฐพี เรียกว่ายุทธภูมิสัญจร
รบลึกเข้าแดนผู้อื่น ทิ้งเมืองมากหลายไว้เบื้องหลัง เรียกว่ายุทธภูมิหนัก
เดินทัพในป่าเขา ที่คับขันอันตาย ห้วยหนองคลองบึง เส้นทางยากเข็ญเหล่านี้ เรียกว่ายุทธภูมิวิบาก
ทางเข้าเล็กแคบ ทางกลับวกวน เขากำลังน้อยสามารถตีเรากำลังมาก เรียกว่ายุทธภูมิโอบล้อม
รบไม่คิดชีวิตก็รอง รบไม่เต็มกำลังก็สิ้น เรียกว่ายุทธภูมิมรณะ
เหตุนี้ ในยุทธภูมิซ่านเซ็นอย่ารบ ในยุทธภูมิเบาอย่าหยุด ในยุทธภูมิยื้อแย่งอย่าฝืน ในยุทธภูมิคาบเกี่ยวพึงหนุนเนื่อง ในยูธภูมิสันจรพึงคบมิตร ในยุทธภูมิหนักพึงกวาดต้อน ในยุธภูมิวิบากพึงรีบผ่าน ในยุธภูมิโอบล้อมใช้อุบาย ในยุทธภูมิมรณะรบสุดชีวิต
ผู้สันทัดการบัญชาทัพแต่โบราณกาล สามารถตัดหน้าหลังข้าศึกขาดจากกัน ทัพใหญ่ทัพเล็กมิอาจพึ่งกัน นายกับพลมิอาจช่วยกัน หน่วยบนหน่วยล่างมิอาจรวมกัน ไพร่พลกระเจิงไม่เป็นกลุ่มก้อน รวมพลก็ไม่ครบถ้วน ได้ประโยชน์ก็รบ ไม่ได้ประโยชน์ก็หยุด ใคร่ถามว่า “ข้าศึกมากเป็นขบวนจะบุกมา พึงทำฉันใด” ตอบว่า “ยึดจุดสำคัญข้าศึกก่อน จักคล้อยตามเรา”
การทำศึกสำคัญที่รวดเร็ว ฉวยโอกาสข้าศึกไม่รู้ตัวบุกในเส้นทางที่ไม่คาดคิด ตีจุดที่มิได้ป้องกัน
อันหลักแห่งการรบเข้าแดนข้าศึกนั้น เมื่อลึกจะมุ่งมั่น ข้าศึกมิอาจต้าน กว้านเสบียงจากแหล่งอุดม สามพันจักมีอาหารพอ เลี้ยงไพร่พลอย่างให้เหนื่อยยาก บำรุงขวัญสะสมกำลัง เคลื่อนพลพึงใช้อุบาย จนมิอาจคาดการณ์ ทุ่มไพร่พลสู่ที่อับ ก็ยอมตายมิยอมพ่าย เมื่อสู้ตายย่อมได้ผล ไพร่พลจึงรบเต็มกำลัง แม้ตกอยู่ในอันตรายก็มิพรั่น หมดทางไปใจยิ่งมั่นคง ยึงลึกยิ่งเหนียวแน่น เมื่อจำเป็นจักสู้
เหตุนี้ ไพร่พลมิต้องกำชับก็รู้ระวัง มิต้องบอกกล่าวก็ทำสำเร็จ มิต้องบังคับก็ร่วมใจกาย มิต้องสั่งการ ก็เคร่งวินัย ปราบความงมงาย คลายความกังขา แม้รบจนตัวตายก็มิหลีกหนี
ไพร่พลเราไร้ทรัพย์สิน ใช่เพราะเกลียดสมบัติ ไม่กลัวตายใช้เพราะชังชีวิต ในวันออกคำสั่งรบ ไพร่พลที่นั่งน้ำตาก็ชุ่มเสื้อ ที่นอนน้ำตาก็อาบแก้ม แม้จะไปรบในที่อับจน ก็หาญกล้าดุจจวนจูฉาวกุ้ย
ฉะนั้น ผู้สันทัดการบัญชาทัพ ก็จักเป็นเช่นส้วยหราง อันส่วยหรางนั้น คืออสรพิษเขาฉางซาน ตีหัวหางจักฉก ตีหางหัวจักฉก ตีท่อนกลางหัวหางฉกพร้อมกัน ใคร่ถามว่า จักให้กองทัพเป็นดั่งส้วยหรางได้หรือไม่” ตอบว่า “ได้” เหมือนชาวแคว้นอู่กับแคว้นแย่เกลียดชังกัน ครั้งลงเรือลำเดียวกันข้ามฟาก เจอพายุ ก็ช่วยกัน ประหนึ่งแขนซ้ายขวา เหตุนี้ การผูกม้าฝังล้อรถเพื่อเรียกขวัญ จึงมิพึงยึดถือความหาญกล้าเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว เกิดจากการบัญชาอันควรเข้มแข็ง หรือ่อนแอก็รบเต็มกำลัง เพราะรู้จักใช้ภูมิประเทศ ฉะนั้น ผู้สันทัดการบัญชาทัพ จึงควบคุมกองทัพได้ประดุจคนคนเดียว นี้เป็นความจำเป็น
อันหน้าที่ขอแม่ทัพพึงเยือกเย็นเพื่อขบคิด พึงเทียงธรรมเพื่อปกครอง สามารถอำพรางหูตาไพร่พล ให้มิรู้ความ ยามเปลี่ยนภารกิจปรับกลอุบาย ก็ไม่มีผู้ใดสำนึก ยามเปลี่ยนที่ตั้งค่าย ยกทัพวกวน ก็ไม่มีผู้ใดตระหนัก ยามมอบหน้าที่ไพร่พล ก็เหมือนให้ไต่ที่สูงแล้วชักบันได ยามรุกเข้าแดนเจ้าครองแคว้นอื่น ก็ประดุจน้าวลั่นเครื่องยิงเกาทัณฑ์ เผาเรือทุบหน้อข้าว ดังหนึ่งต้อนฝูงแกะ ขับให้ไปไล่ให้มา มิล่วงรู้ความประสงค์ รวบรวมไพร่พลสามทัพ ส่งยังที่อันตราย นี่คือหน้าที่แม่ทัพ
การเปลี่ยนแปลงของเก้ายุทธภูมิ ประโยชน์ของการยืดหยุ่น วิสัยของจิตมนุษย์ จักไม่พินิจพิเคราะห์ไม่ได้
อันหลักแห่งการรุกเข้าแดนข้าศึกนั้น เมื่อลึกจะมุ่งมั่นเมื่อตื้นจะซ่านเซ็น การกรีธาทัพจากบ้านเมืองข้ามพรมแดนไปเป็นยุทธภูมิอับ ไปมาสะดวก เป็นยุทธภูมิสันจร บุกลึกเข้าไปเป็นยุทธภูมิหนัก บุกค่อนข้างตื้น เป็นยุทธภูมิเบา เบื้องหลังคับขัน เบื้องหน้าเล็กแคบ เป็นยุทธภูมิโอบล้อม ไปไหนมิได้ เป็นยุทธภูมิมรณะ
เหตุนี้ ในยุทธภูมิซ่านเซ็น เราพึงรวมใจให้เป็นหนึ่ง ในยุทธภูมิเบา เราพึงทำให้เชื่อมต่อกัน ในยุทธภูมิยื้อแย่ง เราพึงอ้อมไปหลังข้าศึก ในยุทธภูมิคาบเกี่ยว เราพึงรักษาให้เข้มงวด ในยุทธภูมิสัญจร เราพึงคบมิตรให้แน่นแฟ้น ในยุทธภูมิหนัก เราพึงให้อาหารไม่ขาดตอน ในยุทธภูมิวิบาก เราพึงเร่งเดินทัพให้พ้น ในยุทธภูมิโอบล้อม เราพึงอุดช่องโหวให้แน่น ในยุทธภูมิมรณะ เราพึงแสดงว่ายอมตาย ฉะนั้น จิตใจของไพร่พล ถูกล้อมก็ต้าน จำเป็นก็สู้ คับขันก็ฟังบัญชา
เหตุนี้ หากมิรู้เจตจำนงเข้าครองแค้น ก็มิพึงคบหา มิรู้ลักษณะป่าเขา ที่คับขันอันตราย ห้วยหนองคลองบึง ก็มิอาจเดินทัพ ไม่ใช้มัคคุเทศก์พื้นเมือง ก็มิได้ประโยชน์จากภูมิประเทศ ผลดีชั่วของเก้ายุทธภูมิ มิรู้แม้เพียงหนึ่งเดียว ก็ไม่ใช้กองทัพผู้พิชิต อันกองทัพผู้พิชิตนั้น เมื่อบุกประเทศใหญ่ ทวยราษฎร์ก็มิทันรวมผล ครั้นข่มศัตรูด้วยแสนยานุภาพ การผูกมิตรกมิ็สัมฤทธิ์ผล เหตุนี้ จึงมิจำต้องชิงผูกมิตรในปฐพี มิจำต้องเสริมอำนาจในแผ่นดิน เชื่อในกำลังตน ครั้นข่มศัตรูด้วยแสนยานุภาพ ก็จักยึดเมือง ล่มประเทศนั้นได้ การให้รางวัลเกินระเบียบ ออกคำสั่งนอกกำหนด จักปัญชาไพร่พลสามทัพประหนึ่งคนคนเดียว ให้ปฏิบัติภารกิจ ก็มิต้องชี้แจง ให้ช่วงชิงผลประโยชน์ ก็มิต้องแจ้งภัย ส่งไปที่ม้วยจึงอยู่ ตกในที่ตายจึงเป็น ไพร่พลตกอยู่ในอันตราย จึงจักรู้แพ้รู้ชนะ
ฉะนั้น การบัญชาทัพ อยู่ที่แสร้งคล้อยตามข้าศึก ทะลวงข้าศึกในจุดเดียว ไล่สังหารขุนพลพันลี้ นี้คือที่ว่า ความแยบยลเป็นผลให้งานเสร็จ
เหตุนี้ เมื่อกำหนดการศึกแล้ว พึงปิดด่านตรวจสาร ไม่ส่งทูตแก่กัน ประมาณการณ์รอบคอบในศาลเทพารักษ์ เพื่อวินิจแผนรบเมื่อข้าศึดเปิดโอกาส พึงรีบโหมบุก รุกยึดจุดสำคัญก่อน อย่านัดวันประจัญบาน พึงปรับแผนตามภาวะข้าศึก เพื่อรบแตกหัก เหตุนี้พึงสงบเยี่ยงสาวพรหมจารีในชั้นแรก เมื่อข้าศึกเปิดช่อง จึงเร็จสุดดุจกระต่ายหลุดบ่วงในภายหลัง ข้าศึกต้านก็มิทัน
บทวิเคราะห์
ในบทนี้ ซุนวูได้จำแนกสนามรบออกเป็น 9 อย่าง ตามความตามความแตกต่างของที่ตั้งและผลสะเทือนของการรบ และได้เสนอหลักการรบและวิธีปฎิบัติในพื้นที่ที่ผิดแผกไปโดยสอดคล้องกัน อันได้สะท้องถึงความคิดชี้นำที่เป็นวัตถุนิยมแบบง่ายๆ ของกลุ่มผลประโยชน์ที่เป็นเจ้าที่ดินเกิดใหม่
ซุนวูเริ่มต้นจากความเรียกร้องต้องการของกลุ่มผลประูโยชน์ใหม่ที่ใคร่จะพัฒนาตนเองอย่างรวมเร็ว จึงเสนอให้ดำิเนินสงครามผนวกดินแดน ดังข้อควาที่กล่าวไว้ในบนนี้ว่า "บุกประเทศใหญ่" โดยทางภววิสัยแล้ว ก็สอดคล้องกับกระแสประวัติศาสตร์ที่มีแนวโน้มในการรวมจีนให้เป็นเอกภาพนั้นเอง
ที่ซุนวูเสนอในบทนี้ว่า "การทำศึกสำคัญที่รวมเร็ว ฉวยโอกาสข้าศึกไม่รู้ตัว บุกในเส้นทางไม่คาดคิด ตีจุดที่มิได้ป้องกัน" และ "ทะลวงข้าศึกในจุดเดียว ไล่สังหารขุนพลพันลี้" อันเป็นความคิดชี้นำการรบนั้นล้วนแต่เป็นการประมวลรวบยอดความจัดเจนในการรบสมันนั้นเป็นอย่างดี
ซุนวูเห็นว่า การรบลึกเข้าไปในดินแดนข้าศึกมีผลดีหลายประการ ที่สำคัญคือหลังจากลึุกเข้าไปในประเทศข้าศึกแล้ว เหล่าทหารก็จะเชื่อฟังคำบัญชาการเป็นอย่างดี ไม่แตกฉานซ่านเซ็นได้ง่ายๆ ซึ่งซุนวูได้กล่าวไว้ว่า "อันหลักแห่งการรุกเข้าแดนข้าศึกนั้น เมื่อลึกจะมุ่งมั่น เมื่อตื้นจะซ่านเซ็น" เมื่อรบลึกเข้าไปในประเทศข้าศึกแล้ว ก็สามารถแก่ปัญหาการส่งกำลังบำรุงของกองทัพได้ ดังที่กล่าวไว้ว่า "กว้านเสบียงจากแหล่งอุดม สามทัพจักมีอาหารพอ
ซุนวูเห็นว่า เมื่อไพร่พลตกอยู่ในอันตราย ก็จะไม่มีความหวาดหวั่นพรั่นพรึง สู้รบอย่างไม่คิดชีวิต เช่นที่ว่าไว้ว่า "แม้ตกอยู่ในอันตรายก็มิหวั่น" "เมื่อจำเป็นจักสู้" "ทุ่มไพร่พลสู่ที่อับ ก็ยอมตายมิยอมพ่าย" อาศัยเหตุผลเหล่านี้ ซุนวูจึงได้ข้อสรุปว่า ภาระหน้าที่ของแม่ทัพคือ "รวบรวมไพร่พลสามทัพ ส่งยังที่อันตราย" ทัศนะของซุนวูข้อนี้ เห็นชัดว่า เป็นทัศนะของชนชั้นปกครองสมัยโบราณที่เห็นราษฏรเป็นผักปลา เท่านั้นเอง
กลุ่มผลประโยชน์ซึ่งเป็นเจ้าที่ดินที่เกิดใหม่ โดยธาตุแท้แล้วก็๋เป็นชนชั้นขูดรีดเช่นเดียวกับกลุ่มผลประโยชน์เก่าคือเจ้าของทาส แม้่ว่าการกดขี่ขูดรีดจะน้อยกว่าเจ้าของทาสก็ตาม ฉะนั้น จึงย่อมจะมีความขัดแย้ง ที่มิอาจจะประนีประนอมได้กับมวลประชาชนทั่วไป ดังนั้น ภายในกองทัพของชนชั้นปกครองเหล่านี้ จึงมีการปะทะกันทางผลประโยชน์ขึ้นพื้นฐานอยุ่เสมอ ด้วยเหตุนี้ พวกแม่ทัพจึงกล้วว่าหากรบอยู่ภายในประเทศหรือรบอยู่ในยุทธภูมิเบาที่ "รุกเข้าแดนผู้อื่นไม่ลึก" พวกทหารก็จะแตกฉานซ่านเซ็นหลบหนีกลับบ้านไปสิ้น จึงเห็นว่าควรเข้าไปอยู่ใน "ยุทธภูมิหนัก" ลึกเข้าไปในแดนข้าศึก เพื่อที่จะขับไล่ไพร่พลให้ไปสู้ตายเพื่อผลประโยชน์การแย่งยึดดินแดนผู้อื่นของตนจะดีกว่า พวกเขาจึงใช้วิธีการ "ส่งไปที่ม้วยจึงอยู่ ตกในที่ตายจึงเป็น" "ไต่ที่สูงแล้วชักบันได" อย่างสุดกำลัง และดำเนินนโยบายสร้างความโง่เขลาแก่ไพร่พล เช่น "สามารถอำพรางหูตาไพร่พล ให้มิรู้ความ" "ให้ช่วงชิงผลประโยชน์ ก็มิต้องแจ้งภัย" ทัศนะต่างๆของซุนวูในส่วนนี้ ล้วนเป็นเศษขยะของกลุ่มชนชั้นปกครองศักดินาสมัยโบราณทั้งสิ้น จะยึดถือในปัจจุบันมิไ้ด้
บทที่ 10 ภูมิประเทศ
อันภูมิประเทศนั้น มีพื้นที่สะดวก มีพื้นที่ซับซ้อน มีพื้นที่ประจัน มีพื้นที่เล็กแคบ มีพื้นที่คับขัน มีพื้นที่ห่างไกล
เราไปก็ได้ เขามาก็ได้ เรียกว่าสะดวก พื้นที่สะดวกเยี่ยงนี้พึงยึดที่สูงโล่งแจ้งก่อน รักษาเส้นทางเสบียง ก็รบจักชนะ
ไปได้ แต่ถอยกลับยาก เรียกว่าซับซ้อน พื้นที่ซับซ้อนเยี่ยงนี้การข้าศึกไม่ระวัง ออกตีชนะ หากข้าศึกเตรียมพร้อม ออกตีไม่ชนะ อยากกลับก็ลำบาง ไม่เป็นผลดี
เราออกตีไม่ดี เขาออกตีก็ไม่ดี เรียกว่าประจัน พื้นที่ประจันเยี่ยงนี้ แม้สภาพข้าศึกเป็นประโยชน์แก่เรา เราก็ไม่ออกตี พึงนำทัพแสร้งถอย ให้ข้าศึกรุกไล่มากึ่งหนึ่ง จึงหวนเข้าตี เป็นผลดี
พื้นที่เล็กแคบ เราพึงยึดก่อน วางกำลังหนาแน่นรอคอย ข้าศึกหากข้าศึกยึดก่อนว่างกำลังหนาแน่นอย่าเข้าตี หากกำลังข้าศึกเบาบางก็จงเข้าตี
พื้นที่คับขัน เราพึงยึดก่อน เลือกที่สูงโล่งแจ้งรอคอยข้าศึก หากข้าศึกยึดก่อน ให้ถอยเสีย อย่ารบด้วย
พื้นที่ห่างไกล กำลังก้ำกึ่ง ยากจักท้ารบ ฝืนรบไม่เป็นผลดี
หกประการนี้ คือหลักแห่งการใช้ภูมิประเทศ เป็นหน้าที่สำคัญของแม่ทัพ จักไม่พินิจพิเคราะห์มิได้
ฉะนั้น ความปราชัยของกองทัพ จึงมีที่เตลิดหนี มีที่หย่อนยาน มีที่ล่มจม มีที่พังทลาย มีที่ปั่นป่วน มีที่ยับเยิน หกประการนี้ มิใช้ภัยจากฟ้า เป็นความผิดของแม่ทัพ
กำลังก่ำกึ่ง กลับเอาหนึ่งไปรบสิบ ทัพจึงเตลิดหนี
ไพร่พลแข้งแกร่งแต่นายกองอ่อน ทัพจึงหย่อนยาน
นายกองแข็งแต่ไพร่พลอ่อน ทัพจึงล่มจม
ขุนพลฉุนเฉียวไม่ฟังบัญชา เผชิญศึกก็โทสะออกรบพลการ แม่ทัพไม่รู้ความสามารถของขุนพล ทัพจึงพังทลาย
แม่ทัพอ่อนแอไม่เข้มงวด การฝึกอบรมไม่จะแจ้ง นายกองและไพร่พลมิรู้ที่จะปฏิบัติ การจัดกำลังก็สับสน ทัพจึงปั่นป่วน
แม่ทัพคาดคะเนข้าศึกมิได้ เอาน้อยรบมาก เอาอ่อนตีแข็งไพร่พลมิเฟ้นที่กล้า ทัพจึงยับเยิน
หกประการนี้ คือหนทางแห่งความปราชัย เป็นหน้าที่สำคัญของแม่ทัพ จึงไม่พินิจพิเคราะห์มิได้
อันลักษณะภูมิประเทศนั้น คือสิ่งช่วยการศึก การคาดคะเนข้าศึกเพื่อชิงชัย การพิจารณาพื้นที่คับขันอันตรายหรือไกลใกล้จึงเป็นคุณสมบัติของแม่ทัพเอก ผู้รู้สิ่งเหล่านี้ออกรบจักชนะ ผู้ไม่รู้สิ่งเหล่านี้ออกรบจักแพ้
ฉะนั้น เมื่อวิถีการรบจักชนะ แม้เจ้านายห้ามรบ ก็พึงรบ เมื่อวิธีการรบจักไม่ชนะ แม้เจ้านายให้รบ ก็มิพึงรบ ฉะนั้น รุกไม่แสวงหาชื่อเสียง ถอยไม่หลบเลี่ยงอาญา มุ่งปกป้องซึ่งทวยราษฎร์ เอื้อประโยชน์แด่เจ้านาย นับเป็นดวงมณีของชาติ
ใส่ใจไพร่พลดุจทารก จักร่วมลุยห้วยเหว ใส่ใจไพร่พลดุจบุตรรัก ก็จักร่วมเป็นรวมตาย ถนอมแต่ใช้ไม่ได้ รักแต่สั่งไม่ได้ ผิดแต่คุมไม่ได้ ก็จักประดุจเด็กดื้อถือเอาแต่ใจ ใช้การมิได้
รู้ไพร่พลเรารบได้ แต่ไม่รู้ข้าศึกตีไม่ได้ ชนะกึ่งเดียว รู้ข้าศึกตีได้ แต่ไม่รู้ไพร่พลเรารบไม่ได้ ชนะกึ่งเดียว รู้ข้าศึกตีได้แต่ไม่รู้ภูมิประเทศรบไม่ได้ ชนะกึ่งเดียว ฉะนั้น ผู้รอบรู้การศึกจักเคลื่อนไหวได้ไม่หลง จักทำการได้ไม่อับจน ฉะนั้นจึงกล่าวว่า รู้เขารู้เรา จักชนะมิพ่าย รู้ฟ้ารู้ดิน จักชนะมิสิ้น ิ
บทวิเคราะห์
ในบทนี้ ซุนวูได้อรรถธิบายถึงความสำคัญของการใช้ภูมิประเทศและหลักการปฏิบัติการของ กองทัพในเงื่อนไขภูมิประเทศต่างๆ ซุนวูได้อธิบายความเกี่ยวพันอย่างแน่นแฟ้นระหว่างภูมิประเทศกับการรบในแง่ มุมที่แตกต่างกัน เน้นว่า แม่ทัพจะต้องให้ความสำคัญแก่การค้นคว้าภูมิประเทศในการทำศึกของตน เขาชี้ว่า “อันลักษณะภูมิประเทศนั้น คือสิ่งช่วยการศึก” และกล่าวอีกว่า “รู้เรา รู้เรา จักชนะมิพ่าย รู้ฟ้ารู้ดิน จักชนะมิสิ้น” การอรรถาธิบายเหล่านี้ ได้ประมวลไว้ซึ่งหลักการทั่วไปในการชี้นำสงครามอันมีคุณค่าอย่างสำคัญ
ซุนวูได้อรรถาธิบายสภาพ 6 ประการแห่งความปราชัยของกองทัพ อันสืบเนื่องมาจากการบัญชาของแม่ทัพไม่ถูกต้องเหมาะสม และได้ชี้ว่า มูลเหตุที่ก่อให้เกิดความปราชัยเหล่านี้ “มิใช้ภัยจากฟ้า” หากแต่เป็น “ความผิดของแม่ทัพ” ด้วยเหตุนี้ เขาจึงได้เน้นให้แม่ทัพเข้าใจความรับผิดชอบอันใหญ่หลวงของตนในกระบวนการแห่งการรบอย่างลึกซึ้ง ทุกสิ่งทุกอย่างจะต้องถือการช่วงชิงชัยชนะของสงความอย่างมีเป้าหมาย ขอแต่ให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ขั้นมูลฐานของเจ้านายตนและทวยราษฎร์ของเจ้านาย ก็จะต้อง “รุกไม่แสวงหาชื่อเสียง ถอยไม่หลบเลี่ยงอาญา” ดำเนินไปตามโอกาสอำนวยให้อย่างสุดความสามารถ
ในบทนี้ ซุนวูยังได้เสนอทัศนะ้ “ใส่ใจไพร่พลดุจบุตรรัก” ซึ่งความคิดดังนี้ สะท้อนให้เห็นว่า ในกระบวนการที่กลุ่มผลประโยชน์ใหม่ คือชนชั้นเจ้าที่ดินที่เกิดใหม่ต่อต้านกับกลุ่มผลประโยชน์เก่าคือชนชั้นเจ้าทาสในอดีตนั้น จำเป็นต้องพึ่งพาอาศัยกำลังของมวลชน แม้ซุนวูจะได้เน้นว่ามีจุดประสงค์ เพี่ยงเพื่อให้ไพร่พล "จักร่วมลุยห้วยเหว" "จักร่่วมเป็นร่วมตาย" ซึ่งโดยเนื้อแท้แล้วก็เพื่อให้ไปตายแทนพวกชนชั้นเจ้าที่ดินที่เกิดใหม่ แต่เมื่อเทียบกับสภาพที่ชนชั้นเจ้าทาสทำทารุณกรรมต่อเหล่าไพร่พลตามความพอใจแล้ว ก็นับเป็นความก้าวหน้าก้าวหนึ่ง
นั้นยังได้เน้นความเรียกร้องต่อไพร่พลอย่างเข้มงวดเป็นพิเศษอย่า “ถนอม” และ “รัก” จนเกินเหตุ เพื่อมิให้กองทัพถูกโอ๋จนกลายเป็น “เด็กดื้อถือแต่ใจ” ถึงเวลาเข้าก็รบไม่ได้ เขาเสนอให้จะต้องประสาน “รัก” เข้ากับ “เข้มงวด” ประสน “รางวัล” เข้ากับ “ลงโทษ” ซึงจุดนี้ก็นับเป็นลักษณะพิเศษร่วมกันของความคิดปกครองทหารของนักการทหารที่ชื่อสมัยโบราณอันมากหลาย รวมทั้งตัวซุนวูด้วย
เราไปก็ได้ เขามาก็ได้ เรียกว่าสะดวก พื้นที่สะดวกเยี่ยงนี้พึงยึดที่สูงโล่งแจ้งก่อน รักษาเส้นทางเสบียง ก็รบจักชนะ
ไปได้ แต่ถอยกลับยาก เรียกว่าซับซ้อน พื้นที่ซับซ้อนเยี่ยงนี้การข้าศึกไม่ระวัง ออกตีชนะ หากข้าศึกเตรียมพร้อม ออกตีไม่ชนะ อยากกลับก็ลำบาง ไม่เป็นผลดี
เราออกตีไม่ดี เขาออกตีก็ไม่ดี เรียกว่าประจัน พื้นที่ประจันเยี่ยงนี้ แม้สภาพข้าศึกเป็นประโยชน์แก่เรา เราก็ไม่ออกตี พึงนำทัพแสร้งถอย ให้ข้าศึกรุกไล่มากึ่งหนึ่ง จึงหวนเข้าตี เป็นผลดี
พื้นที่เล็กแคบ เราพึงยึดก่อน วางกำลังหนาแน่นรอคอย ข้าศึกหากข้าศึกยึดก่อนว่างกำลังหนาแน่นอย่าเข้าตี หากกำลังข้าศึกเบาบางก็จงเข้าตี
พื้นที่คับขัน เราพึงยึดก่อน เลือกที่สูงโล่งแจ้งรอคอยข้าศึก หากข้าศึกยึดก่อน ให้ถอยเสีย อย่ารบด้วย
พื้นที่ห่างไกล กำลังก้ำกึ่ง ยากจักท้ารบ ฝืนรบไม่เป็นผลดี
หกประการนี้ คือหลักแห่งการใช้ภูมิประเทศ เป็นหน้าที่สำคัญของแม่ทัพ จักไม่พินิจพิเคราะห์มิได้
ฉะนั้น ความปราชัยของกองทัพ จึงมีที่เตลิดหนี มีที่หย่อนยาน มีที่ล่มจม มีที่พังทลาย มีที่ปั่นป่วน มีที่ยับเยิน หกประการนี้ มิใช้ภัยจากฟ้า เป็นความผิดของแม่ทัพ
กำลังก่ำกึ่ง กลับเอาหนึ่งไปรบสิบ ทัพจึงเตลิดหนี
ไพร่พลแข้งแกร่งแต่นายกองอ่อน ทัพจึงหย่อนยาน
นายกองแข็งแต่ไพร่พลอ่อน ทัพจึงล่มจม
ขุนพลฉุนเฉียวไม่ฟังบัญชา เผชิญศึกก็โทสะออกรบพลการ แม่ทัพไม่รู้ความสามารถของขุนพล ทัพจึงพังทลาย
แม่ทัพอ่อนแอไม่เข้มงวด การฝึกอบรมไม่จะแจ้ง นายกองและไพร่พลมิรู้ที่จะปฏิบัติ การจัดกำลังก็สับสน ทัพจึงปั่นป่วน
แม่ทัพคาดคะเนข้าศึกมิได้ เอาน้อยรบมาก เอาอ่อนตีแข็งไพร่พลมิเฟ้นที่กล้า ทัพจึงยับเยิน
หกประการนี้ คือหนทางแห่งความปราชัย เป็นหน้าที่สำคัญของแม่ทัพ จึงไม่พินิจพิเคราะห์มิได้
อันลักษณะภูมิประเทศนั้น คือสิ่งช่วยการศึก การคาดคะเนข้าศึกเพื่อชิงชัย การพิจารณาพื้นที่คับขันอันตรายหรือไกลใกล้จึงเป็นคุณสมบัติของแม่ทัพเอก ผู้รู้สิ่งเหล่านี้ออกรบจักชนะ ผู้ไม่รู้สิ่งเหล่านี้ออกรบจักแพ้
ฉะนั้น เมื่อวิถีการรบจักชนะ แม้เจ้านายห้ามรบ ก็พึงรบ เมื่อวิธีการรบจักไม่ชนะ แม้เจ้านายให้รบ ก็มิพึงรบ ฉะนั้น รุกไม่แสวงหาชื่อเสียง ถอยไม่หลบเลี่ยงอาญา มุ่งปกป้องซึ่งทวยราษฎร์ เอื้อประโยชน์แด่เจ้านาย นับเป็นดวงมณีของชาติ
ใส่ใจไพร่พลดุจทารก จักร่วมลุยห้วยเหว ใส่ใจไพร่พลดุจบุตรรัก ก็จักร่วมเป็นรวมตาย ถนอมแต่ใช้ไม่ได้ รักแต่สั่งไม่ได้ ผิดแต่คุมไม่ได้ ก็จักประดุจเด็กดื้อถือเอาแต่ใจ ใช้การมิได้
รู้ไพร่พลเรารบได้ แต่ไม่รู้ข้าศึกตีไม่ได้ ชนะกึ่งเดียว รู้ข้าศึกตีได้ แต่ไม่รู้ไพร่พลเรารบไม่ได้ ชนะกึ่งเดียว รู้ข้าศึกตีได้แต่ไม่รู้ภูมิประเทศรบไม่ได้ ชนะกึ่งเดียว ฉะนั้น ผู้รอบรู้การศึกจักเคลื่อนไหวได้ไม่หลง จักทำการได้ไม่อับจน ฉะนั้นจึงกล่าวว่า รู้เขารู้เรา จักชนะมิพ่าย รู้ฟ้ารู้ดิน จักชนะมิสิ้น ิ
บทวิเคราะห์
ในบทนี้ ซุนวูได้อรรถธิบายถึงความสำคัญของการใช้ภูมิประเทศและหลักการปฏิบัติการของ กองทัพในเงื่อนไขภูมิประเทศต่างๆ ซุนวูได้อธิบายความเกี่ยวพันอย่างแน่นแฟ้นระหว่างภูมิประเทศกับการรบในแง่ มุมที่แตกต่างกัน เน้นว่า แม่ทัพจะต้องให้ความสำคัญแก่การค้นคว้าภูมิประเทศในการทำศึกของตน เขาชี้ว่า “อันลักษณะภูมิประเทศนั้น คือสิ่งช่วยการศึก” และกล่าวอีกว่า “รู้เรา รู้เรา จักชนะมิพ่าย รู้ฟ้ารู้ดิน จักชนะมิสิ้น” การอรรถาธิบายเหล่านี้ ได้ประมวลไว้ซึ่งหลักการทั่วไปในการชี้นำสงครามอันมีคุณค่าอย่างสำคัญ
ซุนวูได้อรรถาธิบายสภาพ 6 ประการแห่งความปราชัยของกองทัพ อันสืบเนื่องมาจากการบัญชาของแม่ทัพไม่ถูกต้องเหมาะสม และได้ชี้ว่า มูลเหตุที่ก่อให้เกิดความปราชัยเหล่านี้ “มิใช้ภัยจากฟ้า” หากแต่เป็น “ความผิดของแม่ทัพ” ด้วยเหตุนี้ เขาจึงได้เน้นให้แม่ทัพเข้าใจความรับผิดชอบอันใหญ่หลวงของตนในกระบวนการแห่งการรบอย่างลึกซึ้ง ทุกสิ่งทุกอย่างจะต้องถือการช่วงชิงชัยชนะของสงความอย่างมีเป้าหมาย ขอแต่ให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ขั้นมูลฐานของเจ้านายตนและทวยราษฎร์ของเจ้านาย ก็จะต้อง “รุกไม่แสวงหาชื่อเสียง ถอยไม่หลบเลี่ยงอาญา” ดำเนินไปตามโอกาสอำนวยให้อย่างสุดความสามารถ
ในบทนี้ ซุนวูยังได้เสนอทัศนะ้ “ใส่ใจไพร่พลดุจบุตรรัก” ซึ่งความคิดดังนี้ สะท้อนให้เห็นว่า ในกระบวนการที่กลุ่มผลประโยชน์ใหม่ คือชนชั้นเจ้าที่ดินที่เกิดใหม่ต่อต้านกับกลุ่มผลประโยชน์เก่าคือชนชั้นเจ้าทาสในอดีตนั้น จำเป็นต้องพึ่งพาอาศัยกำลังของมวลชน แม้ซุนวูจะได้เน้นว่ามีจุดประสงค์ เพี่ยงเพื่อให้ไพร่พล "จักร่วมลุยห้วยเหว" "จักร่่วมเป็นร่วมตาย" ซึ่งโดยเนื้อแท้แล้วก็เพื่อให้ไปตายแทนพวกชนชั้นเจ้าที่ดินที่เกิดใหม่ แต่เมื่อเทียบกับสภาพที่ชนชั้นเจ้าทาสทำทารุณกรรมต่อเหล่าไพร่พลตามความพอใจแล้ว ก็นับเป็นความก้าวหน้าก้าวหนึ่ง
นั้นยังได้เน้นความเรียกร้องต่อไพร่พลอย่างเข้มงวดเป็นพิเศษอย่า “ถนอม” และ “รัก” จนเกินเหตุ เพื่อมิให้กองทัพถูกโอ๋จนกลายเป็น “เด็กดื้อถือแต่ใจ” ถึงเวลาเข้าก็รบไม่ได้ เขาเสนอให้จะต้องประสาน “รัก” เข้ากับ “เข้มงวด” ประสน “รางวัล” เข้ากับ “ลงโทษ” ซึงจุดนี้ก็นับเป็นลักษณะพิเศษร่วมกันของความคิดปกครองทหารของนักการทหารที่ชื่อสมัยโบราณอันมากหลาย รวมทั้งตัวซุนวูด้วย
บทที่ 9 การเดินทัพ
อันการบัญชาทัพวินิจฉัยข้าศึกนั้น ข้ามภูพึงอิงหุบห้วยตั้งทัพที่สูงโล่งแจ้ง อยู่สูงอย่างไต่ขึ้นตี นี้คือการบัญชาทัพในเขตเขา
ข้ามน้ำพึงรีบผละห่าง ข้าศึกข้ามน้ำเข้าตี อย่างออกปะทะกลางน้ำ ให้ขึ้นฝั่งกึ่งหนึ่งจึงตี จักได้ เมื่อประสงค์จะรบ อย่ารับศึกใกล้น้ำ ตั้งแนวที่สูงโล่งแจ้ง อย่าตั้งค่ายใต้น้ำ นี้คือการบัญชาทัพในเขตน้ำ
ข้ามที่ลุ่มโคลนตม พึงเร่งจากไปอย่าช้า แม้นต้องรบในที่ลุ่มโคลนตม พึงยึดแหล่งน้ำมีหญ้าหลังอิงแมกไม้ นี้คือการบัญชาการทัพในที่ลุ่มโคลนตม
ตั้งทัพที่ราบพึงอยู่ที่โล่ง หลังอิงที่สูง ให้หน้าต่ำหลักสูง นี้คือการบัญชาทัพในที่ราบ
ผลการบัญชาทัพสี่ลักษณะนี้ คือเหตุซึ่งจักรพรรดิหวงตี้ได้ชัยแก่สี่กษัตริย์
อันการตั้งทัพมักชอบที่สูงชังที่ต่ำ รักที่แจ้งเกลียดที่ทึบ มีเสบียงสมบูรณ์ชัยภูมิมั่งคง ไพร่พลจักปราศจากโรคภัย นี้คือเหตุ พึงชนะตั้งทัพแถบเนินเขาทำนบน้ำ พึงหันหน้าหาที่แจ้งเอาหลังพิง ซึ่งการศึกได้ประโยชน์ ก็เพราะภูมิประเทศช่วย
ฝนตกต้นน้ำ ฟองน้ำลอยมา ผู้จักลุยข้าม พึงรอน้ำนิ่ง
พื้นที่ซึ่งเป็นห้วยเหว เป็นก้นกระทะ เป็นขุนเขาโอบ เป็นป่ารกชัฏ เป็นปลักโคลนตม เป็นหุบผาขาด ให้รีบหลีกเร้น อย่าได้กล่ำกราย เราพึงห่างออก ข้าศึกชิด เราหันหน้าหา ให้ข้าศึกพิง
เดินทัพพื้นที่คับขัน เป็นบึงอ้อกอแขม เป็นป่าเขาซับซ้อน พึงตรวจค้นหาซ้ำซากถี่ถ้วน นี้เป็นแหล่งซุ่มตีสอดแนม
ข้าศึกใกล้เเต่เงียบ เพราะได้ชัยภูมิ อยู่ไกลแต่ท้ารบ เราะล่อให้ประชิด ตั้งทัพในที่ราบ เพราะได้เปรียบเรา แมกไม้สั่นไหว เพราะบุกเข้ามา กอหญ้าขวางรก เพราะให้ฉงน ฝูงนกบินว่อนเพระดักซุ่มตี ส่ำสัตว์แตกตื่น เพราะเคลื่อนทัพใหญ่ ฝุ่นคลุ้งปลายเรียว เราะรถรบเคลื่อน ฝุ่นต่ำแผ่กว้าง เพราะพลเท้ารุก ฝุ่นเป็นเส้นตรง เพราะตัดไม้ฟืน ฝุ่นบางกระจาย เพราะเตรียมตั้งค่าย
วาจานอบน้อยแต่เตรียมพร้อมคึกคัก เพราะมีแผนบุก วาจาแข้งกร้าวทำประชิดติดพัน เพราะเตรียมจะถอย รถรบนำหน้าแยกเป็นปีกกา เพราะเตรียมสู้รบ ขอเจรจาสันติโดยมิได้นัดหมายเพราะมีอุบาย พลเท้าแปรขบวนรถรบรายเรียง เพราะใคร่จะรบกึ่งรุกกึ่งถอย เพราะมุ่งล่อลวง
ยืนอาวุธยันกาย เพราะความหิวโหย ตักน้ำแย่งดื่ม เพราะความกระหาย ได้เปรียบไม่รุก เพราะความเหนื่อยอ่อน นกจับเป็นฝูงเพราะค่ายว่างเปล่า ร้องผวายามค่ำ เพราะความหวาดกลัว วุ่นวายในค่าย เพราะแม่ทัพไม่เข้ม ธงทิวโอนเอน เพราะความปั่นป่วน นายทัพฉุนเฉียว เพราะความอิดโรย เอาเสบียงเลี้ยงฆ่าม้ากินเนื้อ ไพร่พลทิ้งเครื่องครั้งไม่ยอมกลับค่ายพัก เพราะความจนตรอก ไพร่พลจับกลุ่มสุมหัว ซุบซิบนินทา เพราะขาดศรัทธาแม่ทัพ ตกรางวัลบ่อยครั้ง เพราะหมดปัญญา ลงโทษบ่อยครั้ง เพราะข้าตาจน แม่ทัพเหี้ยมเกรียมแต่กลับกลัวไพร่พลภายหลัง เพราะความโฉดเขลา ส่งทูตมาคำนับ เพราะใคร่สงบศึก ข้าศึกบุกอย่างขุ่นเคือง แต่กลับรั้งรอไม่รบ ทั้งไม่ถอนตัวกลับ พึงคอยสังเกตอย่างระมัดระวัง
การศึกใช้ไพร่พลมากจะดี สำคัญอย่าสุ่มเสี่ยง มีกำลังพอรบ คาดคะเนข้าศึกแม่นยำ ก็ชนะได้ ผู้ไร้สติปัญญาซ้ำปรามาสข้าศึก จักตกเป็นเชลย
ไพร่พลยังไม่ใกล้ชิดก็ลงโทษ จักกระด้างกระเดื่อง กระด้างกระเดื่องก็ใช้ยาก ไพร่พลใกล้ชิดไม่ยอมรับการลงโทษ ก็มิพึงใช้ ฉะนั้น จึงพึงกล่อมเกลาด้วยคุณธรรม ให้พร้อมเพรียงด้วยวินัย นี้คือเหตุซึ่งจักได้ชัยชนะ ฝึกไพร่พลฟังบัญชาเป็นวิสัย ไพ่พลจักจงรัก มิฝึกไพร่พลฟังบัญชาเป็นวิสัย ไพร่พลจักกรระด้างกระเดื่อง การฟังปัญชาเป็นวิสัย นี้คือเเม้ทัพสมานฉันท์กับไพร่พล
บทวิเคราะห์
บทนี้ ที่สำคัญซุนวูได้อธิบายถึงปัญหาการจัดตั้งและการบัญชาการเดินทัพและการรบ การใช้ภูมิประเทศและสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติให้เป็นประโยชน์ ตลอดจนการสอดแนมวินิจฉัยข้าศึกอย่างถ่องแท้
ซุนวูเห็นว่า "การบัญชาทัพวินิจฉัยข้าศึก” เป็นปัญหาสำคัญในการบัญชาการรบ “การบัญชาทัพ” จะต้องสันทัดในการใช้ภูมิประเทศให้เป็นประโยชน์ ทำให้กองทัพของตนอยู่ในพื้นที่เป็นประโยชน์แก่การทำศึกและการตั้งทัพอยู่ได้
หลังจากที่ซุนวูได้เสนอการบัญชาทัพในพื้นที่ที่แตกต่างกัน 4 ลักษณะ คือเขตเขา เขตน้ำ ที่ลุ่มโคลนตมและที่ราบแล้ว ก็เสนอความคิดพื้นฐานในการใช้ภูมิประเทศว่า
“การตั้งทัพมักชอบที่สูงชังที่ต่ำ รักที่แจ้งเกลียดที่ทึบ มีเสบียงสมบูรณ์ชัยภูมิมั่งคง” นี่เป็นการสรุปประสบการณ์ในการรบที่เป็นจริงของทั้งคนรุ่นก่อนและในยุคเดียวกับซุนวู ซึ่งมีความหมายที่แน่นอนต่อการเดินทัพและการรบอย่างยิ่ง
ซุนวูให้ความสำคัญแก่การ “วินิจฉัยข้าศึก” เป็นอันมาก เขาเรียกร้องให้สังเกตสภาพข้าศึกอย่างละเอียดถี่ถ้วน และสันทัดในการวินิจฉัยอย่างถูกต้องต่อสิ่งบอกเหตุต่างๆ เขาได้ประมวลวิธีการวินิจฉัยสภาพข้าศึกบางประการจากประสบการณ์ที่เป็นจริงของตังเองเช่น “ข้าศึกใกล้แต่เงียบ เพราะได้ชัยภูมิ อยู่ไกลแต่ท้ารบ เพราะล่อให้ประชิด” “วาจานอบน้อมแต่เตรียมพร้อมคิกคัก เพราะมีแผนบุก วาจาแข็งกร้าวทำปะชิดติดพัน เพราะเตรียมจะถอย” เป็นต้น วิธีการเหล่านี้ แม้จะโบราณและง่ายๆ ทว่าก้มีสาระที่เป็นวิภาษวิธีซึ่งวินิจฉัยความมุ่งหมายของข้าศึกโดยผ่านปรากฏการณ์อยู่ในตัว
หลังจากได้อธิบาย “การบัญชาทัพวินิจฉัยข้าศึก” แล้วซุนวูได้เสนอปัญหาว่า การรบมิใช้ว่าทหารยิ่งมากยิ่งดี ปมเงื่อนอยู่ทีแม่ทัพมีความสามารถในการวินิจฉัยสภาพข้าศึกอย่างถูกต้อง และสามารถใช้กำลังทหารอย่างรวมศูนย์หรือไม่? เขากล่าวว่า "การศึกใช่ไพร่พลมากจะดี สำคัญอย่างสุ่มเสี่ยง มีกำลังพอรบ คาดคะเนข้าศึกแม่นยำ ก็ชนะได้” และได้ชี้ว่าหากแม่ทัพไร้สติปัญญา ปรามาสข้าศึกรบสุ่มเสี่ยง แม้ทหารจะมีมากเท่ามาก ก็จะต้องถูกข้าศึกตีพ่ายไปอย่างแน่นอน ความคิดของซุนวูเหล่านี้นับว่าเป็นคุณ มีค่ายิ่งนัก และมีพลังชีวิตตราบกระทั่งในทุกวันนี้
ในบทนี้ ซุนวูยังได้อธิบายปัญหาบางประการในด้านการปกครองทหารโดยสังเขป เสนอหลักการปกครองไพร่พลว่า “พึงกล่อมเกลาด้วยคุณธรรม ให้พร้อมเพรียงด้วยวินัย” “ฝึกไพร่พลฟังบัญชาเป็นวิสัยไพร่พลจักจงรัก มิฝึกไพร่พลฟังบัญชาเป็นวิสัย ไพร่พลจักกระด้างกระเดื่องการฟังบัญชาเป็นวิสัย นี้คือแม่ทัพสมานฉันท์กับไพร่พล” ตลอดจนเรียกร้องให้การรางวัลและการลงโทษจะต้องให้สอดคล้องกับกาลเทศะ เป็นต้น เหล่านี้ เป็นด้านสำคัญของความคิดการปกครองทหารของซุนวูที่น่าศึกษาเป็นอย่างยิ่ง
ข้ามน้ำพึงรีบผละห่าง ข้าศึกข้ามน้ำเข้าตี อย่างออกปะทะกลางน้ำ ให้ขึ้นฝั่งกึ่งหนึ่งจึงตี จักได้ เมื่อประสงค์จะรบ อย่ารับศึกใกล้น้ำ ตั้งแนวที่สูงโล่งแจ้ง อย่าตั้งค่ายใต้น้ำ นี้คือการบัญชาทัพในเขตน้ำ
ข้ามที่ลุ่มโคลนตม พึงเร่งจากไปอย่าช้า แม้นต้องรบในที่ลุ่มโคลนตม พึงยึดแหล่งน้ำมีหญ้าหลังอิงแมกไม้ นี้คือการบัญชาการทัพในที่ลุ่มโคลนตม
ตั้งทัพที่ราบพึงอยู่ที่โล่ง หลังอิงที่สูง ให้หน้าต่ำหลักสูง นี้คือการบัญชาทัพในที่ราบ
ผลการบัญชาทัพสี่ลักษณะนี้ คือเหตุซึ่งจักรพรรดิหวงตี้ได้ชัยแก่สี่กษัตริย์
อันการตั้งทัพมักชอบที่สูงชังที่ต่ำ รักที่แจ้งเกลียดที่ทึบ มีเสบียงสมบูรณ์ชัยภูมิมั่งคง ไพร่พลจักปราศจากโรคภัย นี้คือเหตุ พึงชนะตั้งทัพแถบเนินเขาทำนบน้ำ พึงหันหน้าหาที่แจ้งเอาหลังพิง ซึ่งการศึกได้ประโยชน์ ก็เพราะภูมิประเทศช่วย
ฝนตกต้นน้ำ ฟองน้ำลอยมา ผู้จักลุยข้าม พึงรอน้ำนิ่ง
พื้นที่ซึ่งเป็นห้วยเหว เป็นก้นกระทะ เป็นขุนเขาโอบ เป็นป่ารกชัฏ เป็นปลักโคลนตม เป็นหุบผาขาด ให้รีบหลีกเร้น อย่าได้กล่ำกราย เราพึงห่างออก ข้าศึกชิด เราหันหน้าหา ให้ข้าศึกพิง
เดินทัพพื้นที่คับขัน เป็นบึงอ้อกอแขม เป็นป่าเขาซับซ้อน พึงตรวจค้นหาซ้ำซากถี่ถ้วน นี้เป็นแหล่งซุ่มตีสอดแนม
ข้าศึกใกล้เเต่เงียบ เพราะได้ชัยภูมิ อยู่ไกลแต่ท้ารบ เราะล่อให้ประชิด ตั้งทัพในที่ราบ เพราะได้เปรียบเรา แมกไม้สั่นไหว เพราะบุกเข้ามา กอหญ้าขวางรก เพราะให้ฉงน ฝูงนกบินว่อนเพระดักซุ่มตี ส่ำสัตว์แตกตื่น เพราะเคลื่อนทัพใหญ่ ฝุ่นคลุ้งปลายเรียว เราะรถรบเคลื่อน ฝุ่นต่ำแผ่กว้าง เพราะพลเท้ารุก ฝุ่นเป็นเส้นตรง เพราะตัดไม้ฟืน ฝุ่นบางกระจาย เพราะเตรียมตั้งค่าย
วาจานอบน้อยแต่เตรียมพร้อมคึกคัก เพราะมีแผนบุก วาจาแข้งกร้าวทำประชิดติดพัน เพราะเตรียมจะถอย รถรบนำหน้าแยกเป็นปีกกา เพราะเตรียมสู้รบ ขอเจรจาสันติโดยมิได้นัดหมายเพราะมีอุบาย พลเท้าแปรขบวนรถรบรายเรียง เพราะใคร่จะรบกึ่งรุกกึ่งถอย เพราะมุ่งล่อลวง
ยืนอาวุธยันกาย เพราะความหิวโหย ตักน้ำแย่งดื่ม เพราะความกระหาย ได้เปรียบไม่รุก เพราะความเหนื่อยอ่อน นกจับเป็นฝูงเพราะค่ายว่างเปล่า ร้องผวายามค่ำ เพราะความหวาดกลัว วุ่นวายในค่าย เพราะแม่ทัพไม่เข้ม ธงทิวโอนเอน เพราะความปั่นป่วน นายทัพฉุนเฉียว เพราะความอิดโรย เอาเสบียงเลี้ยงฆ่าม้ากินเนื้อ ไพร่พลทิ้งเครื่องครั้งไม่ยอมกลับค่ายพัก เพราะความจนตรอก ไพร่พลจับกลุ่มสุมหัว ซุบซิบนินทา เพราะขาดศรัทธาแม่ทัพ ตกรางวัลบ่อยครั้ง เพราะหมดปัญญา ลงโทษบ่อยครั้ง เพราะข้าตาจน แม่ทัพเหี้ยมเกรียมแต่กลับกลัวไพร่พลภายหลัง เพราะความโฉดเขลา ส่งทูตมาคำนับ เพราะใคร่สงบศึก ข้าศึกบุกอย่างขุ่นเคือง แต่กลับรั้งรอไม่รบ ทั้งไม่ถอนตัวกลับ พึงคอยสังเกตอย่างระมัดระวัง
การศึกใช้ไพร่พลมากจะดี สำคัญอย่าสุ่มเสี่ยง มีกำลังพอรบ คาดคะเนข้าศึกแม่นยำ ก็ชนะได้ ผู้ไร้สติปัญญาซ้ำปรามาสข้าศึก จักตกเป็นเชลย
ไพร่พลยังไม่ใกล้ชิดก็ลงโทษ จักกระด้างกระเดื่อง กระด้างกระเดื่องก็ใช้ยาก ไพร่พลใกล้ชิดไม่ยอมรับการลงโทษ ก็มิพึงใช้ ฉะนั้น จึงพึงกล่อมเกลาด้วยคุณธรรม ให้พร้อมเพรียงด้วยวินัย นี้คือเหตุซึ่งจักได้ชัยชนะ ฝึกไพร่พลฟังบัญชาเป็นวิสัย ไพ่พลจักจงรัก มิฝึกไพร่พลฟังบัญชาเป็นวิสัย ไพร่พลจักกรระด้างกระเดื่อง การฟังปัญชาเป็นวิสัย นี้คือเเม้ทัพสมานฉันท์กับไพร่พล
บทวิเคราะห์
บทนี้ ที่สำคัญซุนวูได้อธิบายถึงปัญหาการจัดตั้งและการบัญชาการเดินทัพและการรบ การใช้ภูมิประเทศและสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติให้เป็นประโยชน์ ตลอดจนการสอดแนมวินิจฉัยข้าศึกอย่างถ่องแท้
ซุนวูเห็นว่า "การบัญชาทัพวินิจฉัยข้าศึก” เป็นปัญหาสำคัญในการบัญชาการรบ “การบัญชาทัพ” จะต้องสันทัดในการใช้ภูมิประเทศให้เป็นประโยชน์ ทำให้กองทัพของตนอยู่ในพื้นที่เป็นประโยชน์แก่การทำศึกและการตั้งทัพอยู่ได้
หลังจากที่ซุนวูได้เสนอการบัญชาทัพในพื้นที่ที่แตกต่างกัน 4 ลักษณะ คือเขตเขา เขตน้ำ ที่ลุ่มโคลนตมและที่ราบแล้ว ก็เสนอความคิดพื้นฐานในการใช้ภูมิประเทศว่า
“การตั้งทัพมักชอบที่สูงชังที่ต่ำ รักที่แจ้งเกลียดที่ทึบ มีเสบียงสมบูรณ์ชัยภูมิมั่งคง” นี่เป็นการสรุปประสบการณ์ในการรบที่เป็นจริงของทั้งคนรุ่นก่อนและในยุคเดียวกับซุนวู ซึ่งมีความหมายที่แน่นอนต่อการเดินทัพและการรบอย่างยิ่ง
ซุนวูให้ความสำคัญแก่การ “วินิจฉัยข้าศึก” เป็นอันมาก เขาเรียกร้องให้สังเกตสภาพข้าศึกอย่างละเอียดถี่ถ้วน และสันทัดในการวินิจฉัยอย่างถูกต้องต่อสิ่งบอกเหตุต่างๆ เขาได้ประมวลวิธีการวินิจฉัยสภาพข้าศึกบางประการจากประสบการณ์ที่เป็นจริงของตังเองเช่น “ข้าศึกใกล้แต่เงียบ เพราะได้ชัยภูมิ อยู่ไกลแต่ท้ารบ เพราะล่อให้ประชิด” “วาจานอบน้อมแต่เตรียมพร้อมคิกคัก เพราะมีแผนบุก วาจาแข็งกร้าวทำปะชิดติดพัน เพราะเตรียมจะถอย” เป็นต้น วิธีการเหล่านี้ แม้จะโบราณและง่ายๆ ทว่าก้มีสาระที่เป็นวิภาษวิธีซึ่งวินิจฉัยความมุ่งหมายของข้าศึกโดยผ่านปรากฏการณ์อยู่ในตัว
หลังจากได้อธิบาย “การบัญชาทัพวินิจฉัยข้าศึก” แล้วซุนวูได้เสนอปัญหาว่า การรบมิใช้ว่าทหารยิ่งมากยิ่งดี ปมเงื่อนอยู่ทีแม่ทัพมีความสามารถในการวินิจฉัยสภาพข้าศึกอย่างถูกต้อง และสามารถใช้กำลังทหารอย่างรวมศูนย์หรือไม่? เขากล่าวว่า "การศึกใช่ไพร่พลมากจะดี สำคัญอย่างสุ่มเสี่ยง มีกำลังพอรบ คาดคะเนข้าศึกแม่นยำ ก็ชนะได้” และได้ชี้ว่าหากแม่ทัพไร้สติปัญญา ปรามาสข้าศึกรบสุ่มเสี่ยง แม้ทหารจะมีมากเท่ามาก ก็จะต้องถูกข้าศึกตีพ่ายไปอย่างแน่นอน ความคิดของซุนวูเหล่านี้นับว่าเป็นคุณ มีค่ายิ่งนัก และมีพลังชีวิตตราบกระทั่งในทุกวันนี้
ในบทนี้ ซุนวูยังได้อธิบายปัญหาบางประการในด้านการปกครองทหารโดยสังเขป เสนอหลักการปกครองไพร่พลว่า “พึงกล่อมเกลาด้วยคุณธรรม ให้พร้อมเพรียงด้วยวินัย” “ฝึกไพร่พลฟังบัญชาเป็นวิสัยไพร่พลจักจงรัก มิฝึกไพร่พลฟังบัญชาเป็นวิสัย ไพร่พลจักกระด้างกระเดื่องการฟังบัญชาเป็นวิสัย นี้คือแม่ทัพสมานฉันท์กับไพร่พล” ตลอดจนเรียกร้องให้การรางวัลและการลงโทษจะต้องให้สอดคล้องกับกาลเทศะ เป็นต้น เหล่านี้ เป็นด้านสำคัญของความคิดการปกครองทหารของซุนวูที่น่าศึกษาเป็นอย่างยิ่ง
บทที่ 8 สิ่งผันแปร 9 ประการ
อันหลักการแห่งการบัญชาทัพนั้น แม่ทัพรับโองการจากประมุข ระดมไพร่พล พื้นที่วิบากไม่ตั้งค่าย พื้นที่คาบเกี่ยวพึงคบมิตร พื้นที่กันดารอย่าหยุดทัพ พื้นที่โอบล้อมต้องใช้กลยุทธ์ พื้นที่มรณะต้องสู้ตาย
เส้นทางบางสายไม่ผ่าน กองทัพบางกองไม่ตี หัวเมืองบางเมืองไม่บุก ชัยภูมิบางแห่งไม่ชิง โองการบางอย่างไม่รับ
ฉะนั้น แม่ทัพผู้รู้แจ้งในประโยชน์แห่งเก้าลักษณะ จึงเป็นผู้รู้การศึก แม่ทัพผู้ไม่แจ้งแห่งเก้าลักษณะ แม้จะรู้ภูมิประเทศ ก็จักมิได้ประโยชน์จากพื้นที่ การบัญชาทัพมิรู้กลวิธีแห่งเก้าลักษณะ แม้จะแจ้งในผลดีทั้งห้าก็นำทัพมิได้
เหตุนี้ การคิดคำนึงของผู้ฉลาด จึ่งใคร่ครวญทั้งผลดีผลเสีย ใคร่ครวญผดดี จักทำให้เชื่อมั่นในภารกิจ ใคร่ครวญผลเสีย จักปัดเป่าภยันตรายให้หายสูญ
เหตุนี้ พึงให้เจ้าครองแคว้นอื่นสยบด้วยภยันตราย ให้เจ้าคลองแคว้นอื่นรับใช้ด้วยอิทธิพล ให้เจ้าครองแคว้นอื่นขึ้นต่อด้วยประโยชน์
ฉะนั้น หลักแห่งการบัญชาทัพ อย่างหวังข้าศึกไม่มา เราพึงเตรียมการให้พร้อม อย่าหวังข้าศึกไม่ตีเราพึงทำให้มิอาจโจมตี
ฉะนั้น แม่ทัพจึงมีอันตรายห้าประการ สู้ตายอาจถูกฆ่า กลัวตายอาจถูกจับ ฉุนเฉียวอาจถูกข่ม ซื่อตรงอาจถูกหยาม รักราษฎร์อาจถูกกวน ห้าประการนี้ เป็นความผิดของแม่ทัพ เป็นภัยแก่การบัญชา กองทัพล่มจมแม่ทัพมอดม้วย ก็ด้วยอันตรายห้าประการนี้ จักไม่พินิจพิเคราะห์มิได้ ิ
บทวิเคราะห์
บนนี้ ที่สำคัญพูดถึงการแก้ไขปัญหาอย่างผลิกแพลงภายใต้สภาพการณ์พิเศษ ซุนวูเน้นว่าจะต้องสันทัดในการปรับเปลี่ยนวิธีรบอย่างผลิกแพลงตามสถานะของสงคราม มิฉะนั้นแล้วแม้จะ “รอบรู้ภูมิประเทศ” ก็มิอาจ “ได้ประโยชน์จกพื้นที่” แม้จะรู้แจ้งใน “ผลดีทั้งห้า” ก็ “นำทัพมิได้” ซึ่งก็ย่อมไม่อาจจะได้ชัยชนะในสงครามอย่างแน่นอน
เพื่อป้องกันแม้ทัพมิให้ต้องได้รับความปราชัยเพราะนำหลักการไปใช่อย่างตายตัว ซุนวูจึงเสนอความเห็นอย่างแจ่มชัดว่า “เส้นทางบางสายไม่ผ่าน กองทัพบางกองไม่ตี หัวเมืองบางเมืองไม่บุก ชัยภูมิบางแห่งไม่ชิง โองการบางอย่างไม่รับ” ซึ่งในที่นี้ไม่รวมถึงการเรียกร้องให้แม่ทัพแก้ไขปัญหาอย่างผลิกแพลง ตลอดจนทัศนะ “มีสิ่งที่ไม่ทำ จึงจะมีสิ่งที่ทำได้” และ “เมื่อมีสิ่งที่ควรเอา จึงจำต้องมีสิ่งที่ไม่เอา” อันแนววิภาษวิธีแบบง่ายๆด้วย
ซุนวูเห็นว่า เพื่อบรรลุจุดประสงค์ของยุทธการที่กำหนดไว้ ต่อเป้าหมายที่ไม่มีความสลักสำคัญต่อสถาการณ์โดยส่วนรวม ก็ควรจะไม่ตี ไม่บุก ไม่ชิง “อย่างเด็ดเดียว” ดังนี้ จึงจะสามารถบรรลุซึ่เป้าประสงค์สำคัญของยุทธการนั้นๆได้
“การคิดคำนึงของผู้ฉลาด จึงใคร่ครวญทั้งผดดีผลเสีย” นี้เป็นความคิดสำคัญอีกประการหนึ่งที่ซุนวูได้เสนอไว้ในบทนี้ เขาเรียกร้องแม่ทัพจะต้องมองปัญหาอย่างรอบด้าน ในสถานการณ์ที่เป็นประโยชน์จะต้องมองเห็นด้านที่ไม่เป็นประโยชน์ ในเงื่อนไขที่ไม่เป็นประโยชน์ จะต้องมองเห็นด้านที่เป็นประโยชน์ ดังนี้ จึงจะสามารถเสาะหาผลประโยชน์หลีกเลี่ยงภยันตราย ป้องกันไว้ล่วงหน้าได้
ในด้านความคิดการเตรียมรบ ซุนวูได้เสนอทัศนะ “อย่าหวังข้าศึกไม่มา เราพึงเตรียมการให้พร้อม อย่างหวังข้าศึกไม่ตี เราพึงทำให้มิอาจโจมตี” เขาเน้นว่า ไม่ว่าจะเป็นเวลาใดก็ตาม อย่าเอาความหวังไปฝากที่ข้าศึกคงจะ “ไม่มา ไม่ตี” แต่ควรจะเตรียมการให้พรักพร้อมทำให้ข้าศึกไม่มีโอกาส ไม่มีช่องโหว่ให้โจมตี เป็นที่เห็นชัดว่า ทัศนะเหล่านี้เป็นคุณและมีค่าอย่างยิ่ง
คำว่า “เก้า” ใน “เก้าลักษณะ” นั้น มิได้หมายถึงเก้าตามจำนวนตัวเลข ในบทนี้ “เก้า” ในความหมายของภาษาจีน หมายถึง หลากหลาย ต่างๆนานา “เก้าลักษณะ” ที่แม้ก็หมายถึง ลักษณะต่างๆ” หรืออีกนักหนึ่ง คือ “สภาพการรบที่มีลักษณะหรือการเปลี่ยนแหลงหลากรูปหลายแบบ” นั่นเอง
ที่ว่า “ผลดีทั้งห้า” ก็คือที่ว่า “เส้นทางบางสายไม่ผ่าน กองทัพบางกองไม่ตี หัวเมืองบางเมืองไม่บุก ชัยภูมิบางแห่งไม่ชิง โองการบางอย่างไม่รับ” 5 ประการด้วยกัน
เส้นทางบางสายไม่ผ่าน กองทัพบางกองไม่ตี หัวเมืองบางเมืองไม่บุก ชัยภูมิบางแห่งไม่ชิง โองการบางอย่างไม่รับ
ฉะนั้น แม่ทัพผู้รู้แจ้งในประโยชน์แห่งเก้าลักษณะ จึงเป็นผู้รู้การศึก แม่ทัพผู้ไม่แจ้งแห่งเก้าลักษณะ แม้จะรู้ภูมิประเทศ ก็จักมิได้ประโยชน์จากพื้นที่ การบัญชาทัพมิรู้กลวิธีแห่งเก้าลักษณะ แม้จะแจ้งในผลดีทั้งห้าก็นำทัพมิได้
เหตุนี้ การคิดคำนึงของผู้ฉลาด จึ่งใคร่ครวญทั้งผลดีผลเสีย ใคร่ครวญผดดี จักทำให้เชื่อมั่นในภารกิจ ใคร่ครวญผลเสีย จักปัดเป่าภยันตรายให้หายสูญ
เหตุนี้ พึงให้เจ้าครองแคว้นอื่นสยบด้วยภยันตราย ให้เจ้าคลองแคว้นอื่นรับใช้ด้วยอิทธิพล ให้เจ้าครองแคว้นอื่นขึ้นต่อด้วยประโยชน์
ฉะนั้น หลักแห่งการบัญชาทัพ อย่างหวังข้าศึกไม่มา เราพึงเตรียมการให้พร้อม อย่าหวังข้าศึกไม่ตีเราพึงทำให้มิอาจโจมตี
ฉะนั้น แม่ทัพจึงมีอันตรายห้าประการ สู้ตายอาจถูกฆ่า กลัวตายอาจถูกจับ ฉุนเฉียวอาจถูกข่ม ซื่อตรงอาจถูกหยาม รักราษฎร์อาจถูกกวน ห้าประการนี้ เป็นความผิดของแม่ทัพ เป็นภัยแก่การบัญชา กองทัพล่มจมแม่ทัพมอดม้วย ก็ด้วยอันตรายห้าประการนี้ จักไม่พินิจพิเคราะห์มิได้ ิ
บทวิเคราะห์
บนนี้ ที่สำคัญพูดถึงการแก้ไขปัญหาอย่างผลิกแพลงภายใต้สภาพการณ์พิเศษ ซุนวูเน้นว่าจะต้องสันทัดในการปรับเปลี่ยนวิธีรบอย่างผลิกแพลงตามสถานะของสงคราม มิฉะนั้นแล้วแม้จะ “รอบรู้ภูมิประเทศ” ก็มิอาจ “ได้ประโยชน์จกพื้นที่” แม้จะรู้แจ้งใน “ผลดีทั้งห้า” ก็ “นำทัพมิได้” ซึ่งก็ย่อมไม่อาจจะได้ชัยชนะในสงครามอย่างแน่นอน
เพื่อป้องกันแม้ทัพมิให้ต้องได้รับความปราชัยเพราะนำหลักการไปใช่อย่างตายตัว ซุนวูจึงเสนอความเห็นอย่างแจ่มชัดว่า “เส้นทางบางสายไม่ผ่าน กองทัพบางกองไม่ตี หัวเมืองบางเมืองไม่บุก ชัยภูมิบางแห่งไม่ชิง โองการบางอย่างไม่รับ” ซึ่งในที่นี้ไม่รวมถึงการเรียกร้องให้แม่ทัพแก้ไขปัญหาอย่างผลิกแพลง ตลอดจนทัศนะ “มีสิ่งที่ไม่ทำ จึงจะมีสิ่งที่ทำได้” และ “เมื่อมีสิ่งที่ควรเอา จึงจำต้องมีสิ่งที่ไม่เอา” อันแนววิภาษวิธีแบบง่ายๆด้วย
ซุนวูเห็นว่า เพื่อบรรลุจุดประสงค์ของยุทธการที่กำหนดไว้ ต่อเป้าหมายที่ไม่มีความสลักสำคัญต่อสถาการณ์โดยส่วนรวม ก็ควรจะไม่ตี ไม่บุก ไม่ชิง “อย่างเด็ดเดียว” ดังนี้ จึงจะสามารถบรรลุซึ่เป้าประสงค์สำคัญของยุทธการนั้นๆได้
“การคิดคำนึงของผู้ฉลาด จึงใคร่ครวญทั้งผดดีผลเสีย” นี้เป็นความคิดสำคัญอีกประการหนึ่งที่ซุนวูได้เสนอไว้ในบทนี้ เขาเรียกร้องแม่ทัพจะต้องมองปัญหาอย่างรอบด้าน ในสถานการณ์ที่เป็นประโยชน์จะต้องมองเห็นด้านที่ไม่เป็นประโยชน์ ในเงื่อนไขที่ไม่เป็นประโยชน์ จะต้องมองเห็นด้านที่เป็นประโยชน์ ดังนี้ จึงจะสามารถเสาะหาผลประโยชน์หลีกเลี่ยงภยันตราย ป้องกันไว้ล่วงหน้าได้
ในด้านความคิดการเตรียมรบ ซุนวูได้เสนอทัศนะ “อย่าหวังข้าศึกไม่มา เราพึงเตรียมการให้พร้อม อย่างหวังข้าศึกไม่ตี เราพึงทำให้มิอาจโจมตี” เขาเน้นว่า ไม่ว่าจะเป็นเวลาใดก็ตาม อย่าเอาความหวังไปฝากที่ข้าศึกคงจะ “ไม่มา ไม่ตี” แต่ควรจะเตรียมการให้พรักพร้อมทำให้ข้าศึกไม่มีโอกาส ไม่มีช่องโหว่ให้โจมตี เป็นที่เห็นชัดว่า ทัศนะเหล่านี้เป็นคุณและมีค่าอย่างยิ่ง
คำว่า “เก้า” ใน “เก้าลักษณะ” นั้น มิได้หมายถึงเก้าตามจำนวนตัวเลข ในบทนี้ “เก้า” ในความหมายของภาษาจีน หมายถึง หลากหลาย ต่างๆนานา “เก้าลักษณะ” ที่แม้ก็หมายถึง ลักษณะต่างๆ” หรืออีกนักหนึ่ง คือ “สภาพการรบที่มีลักษณะหรือการเปลี่ยนแหลงหลากรูปหลายแบบ” นั่นเอง
ที่ว่า “ผลดีทั้งห้า” ก็คือที่ว่า “เส้นทางบางสายไม่ผ่าน กองทัพบางกองไม่ตี หัวเมืองบางเมืองไม่บุก ชัยภูมิบางแห่งไม่ชิง โองการบางอย่างไม่รับ” 5 ประการด้วยกัน
บทที่ 7 การดำเนินกลยุทธ์
อันหลักแห่งการบัญชาทัพนั้น แม่ทัพรับโองการจากประมุข ระดมไพร่รวมพล ตั้งทัพเผชิญข้าศึกที่ยากคือการชิงชัย ความยากของการชิงชัยอยู่ที่แปลงอ้อมให้เป็นตรง แปลงภยันตรายให้เป็นประโยชน์ ฉะนั้น จึงพึงเดินทางทางอ้อม แล้วล่อด้วยประโยชน์ เคลื่อนพลทีหลัง ถึงที่หมายก่อน นี้คือผู้รู้กลยุทธ์อ้อมตรง
ฉะนั้น การชิงชัยมีประโยชน์ การชิงชัยมีภัย ยกทัพทั้งกองไปชิงประโยชน์ จักไม่ทันกาล ทิ้งยุทโธปกรณ์ไปชิงประโยชน์ จักสูญเสียสัมภาระ
เหตุนี้ แม้นเก็บเสื้อเกราะเร่งเดินทัพ ไม่หยุดทั้งกลางวันกลางคืน รีบรุดเป็นทวีคูณ เพื่อไปชิงประโยชน์ในร้อยลี้ แม่ทัพทั้งสามจักเป็นเชลย เพราะผู้แข็งแรงจะขึ้นหน้า ผู้เหนื่อยล้าจะตกหลัง การนี้จะมีทหารถึงที่หมายเพียงหนึ่งในสิบ แม้นเพื่อชิงประโยชน์ในห้าสิบลี้ แม่ทัพหน้าจักมีอันตราย การนี้จะมีทหารถึงที่หมายเพียงครึ่งเดียว แม้นเพื่อชิงประโยชน์ในสามสิบลี้ ก็จะมีทหารถึงที่หมายเพียงสองในสาม
เหตุนี้ กองทัพที่ขาดยุทธสัมภาระจักล่ม ขาดเสบียงอาหารจักล่ม ขาดคลังสำรองจักล่ม
ฉะนั้น มิรู้เจตจำนงเหล่าเจ้าครองแคว้น ก็มิพึงคบหา มิรู้ลักษณะป่าเขา ที่คับขันอันตราย ห้วยหนองคลองบึง ก็มิอาจเดินทัพ ไม่ใช้มัคคุเทศก์พื้นเมือง ก็มิได้ประโยชน์จากภูมิประเทศ
ฉะนั้น การศึกจึงกำหนดด้วยเล่ห์ เคลื่อนทัพด้วยประโยชน์กระจ่ายหรือรวมพลตามศึก
ฉะนั้น จึงรวดเร็วดังหนึ่งพายุ เชื่องช้าดังหนึ่งไม้ลู่ รุกไล่ดังหนึ่งเพลิงผลาญ ตั้งมั่นดังหนึ่งภูผา รู้ยากดังหนึ่งความมืด เคลื่อนทัพดังหนึ่งฟ้าคำรณ ได้บ้านให้แบ่งสินศึก ได้เมืองให้ปูนบำเหน็จประมาณการแล้วจึงเคลื่อน ผู้รู้กลยุทธ์อ้อมตรงก่อนจักชนะ นี้คือหลักแห่งการสัประยุทธ์
“ตำราการทหาร” กล่าวว่า “ส่งเสียงไม่ได้ยิน จึงให้ฆ้องกลอง แลมองมิได้เห็น จึงใช้ธงทิว” อันฆ้องกลองและธงทิวนั้น เพื่อให้หูตาไพร่พลเป็นหนึ่งเดียว เมื่อไหร่พลเป็นหนึ่งเดียว ผู้กล้าหาญก็ไม่บุกแต่ลำพัง ผู้ขลาดกลัวก็ไม่ถอยแต่คนเดียว นี้คือหลักแห่งการบัญชาไพร่พล ฉะนั้น รบกลางคืนจึงมากด้วยแสงไฟเสียงกลอง รบกลางวันจึงมากด้วยธงธวัชสะบัดโบก ดังนี้ จึงเปลี่ยนแปลงหูตาไพร่พลได้
ฉะนั้น สามทัพอาจเสียขวัญ แม่ทัพอาจท้อแท้ โดยเหตุที่ยามเช้ามักฮักเหิม ยามสายจักอิดโรย ยามเย็นก็สิ้นแรง ฉะนั้น ผู้สันทัดการบัญชาทัพ พึงเลี้ยงความฮึกเหิม เข้าตีเมื่ออิดโรย นี้คือคุมขวัญ เอาสงบรอปั่นป่วน เอาเงียบรอโกลาหล นี้คือคุมจิต เอาใกล้รอไกล เอาสบายรอเหนื่อย เอาอิ่มรอหิว นี้คือคุมพลัง อย่าตีสกัดทัพซึ่งธงทิวปลิวไสว อย่าโจมตีทัพซึ่งตั้งอยู่อย่างผ่าเผย นี้คือคุมเปลี่ยนแปลง
ฉะนั้น หลักแห่งการบัญชาทัพ ที่สูงอย่าบุก อิงเนินอย่ารุก แสร้งถอยอย่าไล่ แกร่งกล้าอย่าตี อ่อยเหยื่ออย่ากิน คืนถิ่นอย่างขวาง ล้อมพึงเปิดช่อง จนตรองอย่างเค้น นี้คือหลักแห่งการสัประยุทธ์
บทวิเคราะห์
การสาธยายของซุนวูในบทนี้ เป็นเรื่องเกี่ยวกับปัญหาคู่สงครามช่วงชิงชัยชนะให้กับตน ความคิดที่เป็นใจกลางก็คือ พยายามยึดกุมอำนาจหรือสิทธิเป็นฝ่ายกระทำในสนามรบให้ได้
ซุนวูเห็นว่า ในกระบวนการทำสงครามนั้น การเข้ายึดครองพื้นที่สำคัญในสนามรบและยึดกุมโอกาสที่เป็นประโยชน์ในการทำศึก เป็นปัญหาที่สำคัญที่สุดและยากที่สุดในการช่วงชิงความได้เปรียบของคู่สงคราม เขาเห็นว่า เพื่อที่จะช่วงชิงให้ได้มาซึ่งฐานะที่เป็นประโยชน์ จะต้องเข้าใจในหลักการ "แปลงอ้อมให้เป็นตรง แปลงภยันตรายให้เป็นประโยชน์” จะต้อง “พึงเดินทางอ้อม และล้อด้วยประโยชน์” และใช้มาตรการที่ดูผิวเผินไม่เป็นผลดีแต่ตน หลอกลวงสร้างความฉงนสนเท่ห์แก่ข้าศึก ทำถึงขั้น “เคลื่อนผลทีหลัง ถึงที่หมายก่อน”
ซุนวูเห็นว่า การชิงชัยมีสองด้าน คือทั้งที่เป็นประโยชน์และที่เป็นภัย เขาชี้ว่า “การชิงชัยมีประโยชน์ การชิงชัยมีภัย” เน้นว่าในกระบวนการสัประยุทธ์นั้น จะต้องจัดการกับปัญหา “ยกกองทัพไปชิงประโยชน์” และ “ทิ้งยุทโธปกรณ์ไปชิงประโยชน์” ให้ดี จะต้องปฏิบัติการอย่างรวดเร็ว แต่ก็ไม่ควรจะคิดแต่ให้เบาตัวโดยทิ้งยุทธสัมภาระไปเสีย คือคิดแต่่รีบรุดไปโดยทำให้ไพร่พลต้องสิ้นสมรรถนะ เขาเตือนว่า กองทัพหากปราศจากยุทธสัมภาระก็ไม่อาจจะอยู่ได้ การรุกอย่างสุ่มเสี่ยงเบาปัญญา แม่ทัพของสามทัพก็อาจจะเป็นอันตรายตกเป็นเชลยของข้าศึกได้
ซุนวูเน้นว่า เพื่อบรรลุจุดมุ่มหมายในการช่วงชิงผลประโยชน์ยังจะต้องเข้าใจเจตจำนงของแคว้นต่างๆ เข้าใจเส้นทางการเดินทัพและภูมิประเทศของสนามรบ เล็งเห็นความสำคัญของการใช้มัคคุเทศก์ มีการบัญชาอย่างเป็นเอกภาพ และได้เสนอให้มีการปฎิบัติการเยี่ยง “รวดเร็วดังหนึ่งพายุ เชื่องช้าดังหนึ่งไม้ลู่ รุกไล่ดังหนึ่งเพลิงผลาญ ตั้งมั่นดังหนึ่งภูผา” เป็นต้น ตลอดจนหลักการบัญชาทัพซึ่งยึดกุมการหลอกลวงข้าศึก ใช้กำลังทหารของตนให้ “กระจายหรือรวมผล” โดยเปลี่ยนแปลงตามสภาพการรบเหล่านี้ ล้วนแต่มีคุณค่าที่แน่นอนทั้งสิ้น
ในบทนี้ ซุนวูยังได้เสนอความคิดชี้นำและวิธีทำสงครามซึ่ง “คุมขวัญ คุมจิต คุมพลัง คุมเปลี่ยนแปลง” โดยเฉพาะอย่างยิ่งเขาได้เสนอสำนวนการทหารที่ลือชื่อคำหนึ่งไว้ในบทนี้คือ “พึงเลี่ยงความฮึกเหิม เข้าตีเมื่ออิดโรย” อันได้สะท้อนสิ่งซึ่งมีลักษณะเป็นปรากฏการณ์บางประการในการชี้นำสงคราม
เหมาเจ๋อตงได้ชี้ในจุลสาร “ปัญหายุทธศาสตร์ในสงครามปฎิวัติของจีนว่า” ว่า “คำของซุนวูที่ว่า “พึงเลี่ยงความฮึกเหิม เข้าตีเมื่ออิดโรย” นั้นก็หมายถึงการทำให้ข้าศึกอ่อนเพลียเสียขวัญเพื่อบันทอนความเหนือกว่าของมันเสียนั้นเอง”
แต่คำที่ว่า “กลับถิ่นอย่าขวาง” “จนตรองอย่าเค้น” ซึ่งซุนวูได้เสนอในบทนี้นั้น การนำไปใช้ในปริมณฑลอื่นๆ อาจไม่ปีปัญหา แต่ในด้านการทหารแล้ว การทำเช่นนี้ก็เท่ากับปล่อยเสือเข้าป่า จึงควรที่จะพิจารณาให้จงหนัก
ฉะนั้น การชิงชัยมีประโยชน์ การชิงชัยมีภัย ยกทัพทั้งกองไปชิงประโยชน์ จักไม่ทันกาล ทิ้งยุทโธปกรณ์ไปชิงประโยชน์ จักสูญเสียสัมภาระ
เหตุนี้ แม้นเก็บเสื้อเกราะเร่งเดินทัพ ไม่หยุดทั้งกลางวันกลางคืน รีบรุดเป็นทวีคูณ เพื่อไปชิงประโยชน์ในร้อยลี้ แม่ทัพทั้งสามจักเป็นเชลย เพราะผู้แข็งแรงจะขึ้นหน้า ผู้เหนื่อยล้าจะตกหลัง การนี้จะมีทหารถึงที่หมายเพียงหนึ่งในสิบ แม้นเพื่อชิงประโยชน์ในห้าสิบลี้ แม่ทัพหน้าจักมีอันตราย การนี้จะมีทหารถึงที่หมายเพียงครึ่งเดียว แม้นเพื่อชิงประโยชน์ในสามสิบลี้ ก็จะมีทหารถึงที่หมายเพียงสองในสาม
เหตุนี้ กองทัพที่ขาดยุทธสัมภาระจักล่ม ขาดเสบียงอาหารจักล่ม ขาดคลังสำรองจักล่ม
ฉะนั้น มิรู้เจตจำนงเหล่าเจ้าครองแคว้น ก็มิพึงคบหา มิรู้ลักษณะป่าเขา ที่คับขันอันตราย ห้วยหนองคลองบึง ก็มิอาจเดินทัพ ไม่ใช้มัคคุเทศก์พื้นเมือง ก็มิได้ประโยชน์จากภูมิประเทศ
ฉะนั้น การศึกจึงกำหนดด้วยเล่ห์ เคลื่อนทัพด้วยประโยชน์กระจ่ายหรือรวมพลตามศึก
ฉะนั้น จึงรวดเร็วดังหนึ่งพายุ เชื่องช้าดังหนึ่งไม้ลู่ รุกไล่ดังหนึ่งเพลิงผลาญ ตั้งมั่นดังหนึ่งภูผา รู้ยากดังหนึ่งความมืด เคลื่อนทัพดังหนึ่งฟ้าคำรณ ได้บ้านให้แบ่งสินศึก ได้เมืองให้ปูนบำเหน็จประมาณการแล้วจึงเคลื่อน ผู้รู้กลยุทธ์อ้อมตรงก่อนจักชนะ นี้คือหลักแห่งการสัประยุทธ์
“ตำราการทหาร” กล่าวว่า “ส่งเสียงไม่ได้ยิน จึงให้ฆ้องกลอง แลมองมิได้เห็น จึงใช้ธงทิว” อันฆ้องกลองและธงทิวนั้น เพื่อให้หูตาไพร่พลเป็นหนึ่งเดียว เมื่อไหร่พลเป็นหนึ่งเดียว ผู้กล้าหาญก็ไม่บุกแต่ลำพัง ผู้ขลาดกลัวก็ไม่ถอยแต่คนเดียว นี้คือหลักแห่งการบัญชาไพร่พล ฉะนั้น รบกลางคืนจึงมากด้วยแสงไฟเสียงกลอง รบกลางวันจึงมากด้วยธงธวัชสะบัดโบก ดังนี้ จึงเปลี่ยนแปลงหูตาไพร่พลได้
ฉะนั้น สามทัพอาจเสียขวัญ แม่ทัพอาจท้อแท้ โดยเหตุที่ยามเช้ามักฮักเหิม ยามสายจักอิดโรย ยามเย็นก็สิ้นแรง ฉะนั้น ผู้สันทัดการบัญชาทัพ พึงเลี้ยงความฮึกเหิม เข้าตีเมื่ออิดโรย นี้คือคุมขวัญ เอาสงบรอปั่นป่วน เอาเงียบรอโกลาหล นี้คือคุมจิต เอาใกล้รอไกล เอาสบายรอเหนื่อย เอาอิ่มรอหิว นี้คือคุมพลัง อย่าตีสกัดทัพซึ่งธงทิวปลิวไสว อย่าโจมตีทัพซึ่งตั้งอยู่อย่างผ่าเผย นี้คือคุมเปลี่ยนแปลง
ฉะนั้น หลักแห่งการบัญชาทัพ ที่สูงอย่าบุก อิงเนินอย่ารุก แสร้งถอยอย่าไล่ แกร่งกล้าอย่าตี อ่อยเหยื่ออย่ากิน คืนถิ่นอย่างขวาง ล้อมพึงเปิดช่อง จนตรองอย่างเค้น นี้คือหลักแห่งการสัประยุทธ์
บทวิเคราะห์
การสาธยายของซุนวูในบทนี้ เป็นเรื่องเกี่ยวกับปัญหาคู่สงครามช่วงชิงชัยชนะให้กับตน ความคิดที่เป็นใจกลางก็คือ พยายามยึดกุมอำนาจหรือสิทธิเป็นฝ่ายกระทำในสนามรบให้ได้
ซุนวูเห็นว่า ในกระบวนการทำสงครามนั้น การเข้ายึดครองพื้นที่สำคัญในสนามรบและยึดกุมโอกาสที่เป็นประโยชน์ในการทำศึก เป็นปัญหาที่สำคัญที่สุดและยากที่สุดในการช่วงชิงความได้เปรียบของคู่สงคราม เขาเห็นว่า เพื่อที่จะช่วงชิงให้ได้มาซึ่งฐานะที่เป็นประโยชน์ จะต้องเข้าใจในหลักการ "แปลงอ้อมให้เป็นตรง แปลงภยันตรายให้เป็นประโยชน์” จะต้อง “พึงเดินทางอ้อม และล้อด้วยประโยชน์” และใช้มาตรการที่ดูผิวเผินไม่เป็นผลดีแต่ตน หลอกลวงสร้างความฉงนสนเท่ห์แก่ข้าศึก ทำถึงขั้น “เคลื่อนผลทีหลัง ถึงที่หมายก่อน”
ซุนวูเห็นว่า การชิงชัยมีสองด้าน คือทั้งที่เป็นประโยชน์และที่เป็นภัย เขาชี้ว่า “การชิงชัยมีประโยชน์ การชิงชัยมีภัย” เน้นว่าในกระบวนการสัประยุทธ์นั้น จะต้องจัดการกับปัญหา “ยกกองทัพไปชิงประโยชน์” และ “ทิ้งยุทโธปกรณ์ไปชิงประโยชน์” ให้ดี จะต้องปฏิบัติการอย่างรวดเร็ว แต่ก็ไม่ควรจะคิดแต่ให้เบาตัวโดยทิ้งยุทธสัมภาระไปเสีย คือคิดแต่่รีบรุดไปโดยทำให้ไพร่พลต้องสิ้นสมรรถนะ เขาเตือนว่า กองทัพหากปราศจากยุทธสัมภาระก็ไม่อาจจะอยู่ได้ การรุกอย่างสุ่มเสี่ยงเบาปัญญา แม่ทัพของสามทัพก็อาจจะเป็นอันตรายตกเป็นเชลยของข้าศึกได้
ซุนวูเน้นว่า เพื่อบรรลุจุดมุ่มหมายในการช่วงชิงผลประโยชน์ยังจะต้องเข้าใจเจตจำนงของแคว้นต่างๆ เข้าใจเส้นทางการเดินทัพและภูมิประเทศของสนามรบ เล็งเห็นความสำคัญของการใช้มัคคุเทศก์ มีการบัญชาอย่างเป็นเอกภาพ และได้เสนอให้มีการปฎิบัติการเยี่ยง “รวดเร็วดังหนึ่งพายุ เชื่องช้าดังหนึ่งไม้ลู่ รุกไล่ดังหนึ่งเพลิงผลาญ ตั้งมั่นดังหนึ่งภูผา” เป็นต้น ตลอดจนหลักการบัญชาทัพซึ่งยึดกุมการหลอกลวงข้าศึก ใช้กำลังทหารของตนให้ “กระจายหรือรวมผล” โดยเปลี่ยนแปลงตามสภาพการรบเหล่านี้ ล้วนแต่มีคุณค่าที่แน่นอนทั้งสิ้น
ในบทนี้ ซุนวูยังได้เสนอความคิดชี้นำและวิธีทำสงครามซึ่ง “คุมขวัญ คุมจิต คุมพลัง คุมเปลี่ยนแปลง” โดยเฉพาะอย่างยิ่งเขาได้เสนอสำนวนการทหารที่ลือชื่อคำหนึ่งไว้ในบทนี้คือ “พึงเลี่ยงความฮึกเหิม เข้าตีเมื่ออิดโรย” อันได้สะท้อนสิ่งซึ่งมีลักษณะเป็นปรากฏการณ์บางประการในการชี้นำสงคราม
เหมาเจ๋อตงได้ชี้ในจุลสาร “ปัญหายุทธศาสตร์ในสงครามปฎิวัติของจีนว่า” ว่า “คำของซุนวูที่ว่า “พึงเลี่ยงความฮึกเหิม เข้าตีเมื่ออิดโรย” นั้นก็หมายถึงการทำให้ข้าศึกอ่อนเพลียเสียขวัญเพื่อบันทอนความเหนือกว่าของมันเสียนั้นเอง”
แต่คำที่ว่า “กลับถิ่นอย่าขวาง” “จนตรองอย่าเค้น” ซึ่งซุนวูได้เสนอในบทนี้นั้น การนำไปใช้ในปริมณฑลอื่นๆ อาจไม่ปีปัญหา แต่ในด้านการทหารแล้ว การทำเช่นนี้ก็เท่ากับปล่อยเสือเข้าป่า จึงควรที่จะพิจารณาให้จงหนัก
บทที่ 6 ความอ่อนแอ-เข้มแข็ง
ผู้เข้าสนามรบค่อยข้าศึกก่อนย่อมสดชื่น ผู้เข้าสนามรบสู้ศึกฉุกละหุทีหลังย่อมอิดโรย ฉะนั้น ผู้สันทัดการรบ จึงกระทำต่อผู้อื่นใช้ถูกผู้อื่นกระทำ
ที่สามารถทำให้ข้าศึกมาเอง ก็เพราะล่อด้วยประโยชน์ ที่สามารถทำให้ข้าศึกมิกล้าเข้า ก็เพระเผยให้เห็นภัย ฉะนั้น ข้าศึกสดชื่นพึงให้อิดโรย อิ่มพึงให้หิว สงบพึงให้เคลื่อน
พึงตีที่ข้าศึกมิอาจหนุนช่วย พึงรุกที่ข้าศึกมิได้คาดคิด เดินทัพพันลี้มิเหนื่อย เพราะเดินในที่ปลอดคน โจมตีก็ต้องได้เพราะข้าศึกมิอาจป้องกัน รักษาก็ต้องมั่นคง เพราะข้าศึกมิอาจเข้าตี
ฉะนั้น ผู้สันทัดการโจมตี ข้าศึกมิรู้ทีจะตั้งรับ ผู้สันทัดการตั้งรับ ข้าศึกมิรู้ที่จะโจมตี แยบยลแสนจะแยบยล จนมิเห็นแม้วี่แววพิสดารสุดพิสดาร จนไร้สิ้นซึ่งสำเนียง ฉะนั้น จึงสามารถบัญชาชะตากรรมข้าศึก
รุกก็มิอาจต้านทาน เพราตีจุดอ่อนข้าศึก ถอยก็มิอาจประชิต เพราะเร็วจนสุดจะไล่ ฉะนั้น เมื่อเราจักรบ แม้ข้าศึกมีป้อมสูงคูลึก ก็จำต้องรบกับเรา เพราะโจมตีจุดที่ข้าศึกต้องช่วย เมื่อเราไม่รบ แม้ป้องกันเพียงขีดเส้นเขต ข้าศึกก็มาอาจรบด้วย เพราะได้ถูกชักนำไปอื่น
ฉะนั้น ให้ข้าศึกเผยรูปลักษณ์แต่เราไร้รูปลักษณ์ เราจึงรวมศูนย์ แต่ข้าศึกกระจาย เรารวมเป็นหนึ่ง ข้าศึกกระจายเป็นสิบ เอาสิบไปตีหนึ่งของข้าศึก เราก็มากแต่ข้าศึกน้อย เมื่อเอามากไปตีน้อย ผู้ที่เรารบด้วยก็มีจำกัด
พื้นที่ซี่งเรากำหนดเป็นสนามรบ มิควรให้รู้ เมื่อมิรู้ ข้าศึกจำต้องเตรียมการมากด้าน เมื่อเตรียมการมากด้าน กำลังที่เรารบด้วย ก็น้อย ฉะนั้น เตรียมหน้า หลังก็น้อย เตรียมหลัง หน้าก็น้อย เตรียมซ้าย ขวาก็น้อย เตรียมขวา ซ้ายก็น้อย เตรียมทุกด้าน ทุกด้านก็น้อย ฝ่ายน้อย เพราะเตรียมรับข้าศึก ฝ่ายมาก เพราะให้ข้าศึกเตรียมรับตน
ฉะนั้น เมื่อรู้สนามรบ รู้วันเวลารบ ก็ออกรบได้ไกลพันลี้ หากมิรู้สนามรบ มิรู้วันเวลารบ ซ้ายก็มิอาจช่วยขวา ขวาก็มิอาจช่วยซ้าย หน้าก็มิอาจช่วยหลัง หลังก็มิอาจช่วยหน้า จักรบไกลหลายสิบลี้ หรือใกล้ไม่กี่ลี้ได้ไฉน
ตามการคาดคะเนของเรา ชาวแคว้นเย่แม้ทหารจะมาก จักเกิดผลแพ้ชนะได้ไฉน
ฉะนั้น พึงวินิจฉัยเพื่อรู้แผนซึ่งจะเกิดผลได้เสีย พึงดำเนินการเพื่อรู้เหตุความเป็นไป พึงสังเกตการณ์เพื่อรู้จุดเป็นตาย พึงลองเข้าตีเพื่อรู้ส่วนขาดเกิน
ฉะนั้น การเผยรูปลักษณ์ชั้นเลิศ จึงปราศจากเค้าเงื่อน เมื่อปราศจากเค้าเงือน จารชนที่แฝงตัวก็มิอาจรู้เห็น ผู้มีสติปัญญาก็มิอาจใช้อุบาย
แม้ชัยชนะจะปรากฏต่อผู้คนเพราะรูปลักษณ์ คนทั้งหลายก็มิอาจรู้ ผู้คนล่วงรู้ว่ารูปลักษณ์ทำให้เราชนะ แต่ไม่รู้รูปลักษณ์ของเราว่าเหตุใดจึงชนะ ฉะนั้น ชัยชนะจึงไม่ซ้ำซาก แต่จักมิรู้สิ้นตามรูปลักษณ์
รูปลักษณ์การรบดุจดั่งน้ำ รูปลักษณ์ของน้ำ เลี่อนที่สูงลงที่ต่ำ รูปลักษณ์การรบ เลี่ยงที่แข็งตีที่อ่อน น้ำไหลไปตามสภาพพิ้นที่ การรบชนะตามสภาพข้าศึก ฉะนั้น การรบจึงไม่มีรูปลักษณ์ตายตัวน้ำก็ไม่มีรูปร่างแน่นอน ผู้สามารถเอาชนะขณะที่สภาพข้าศึกเปลี่ยนแปลเรียกว่าเทพ
ฉะนั้น ห้าธาตุจึงไม่มีธาตุไหนชนะตลอดกาล สี่ฤดูก็ไมอยู่คงทีเสมอไป ดวงตะวันมีสั้นมียาว ดวงเดือนก็มีขึ้นมีแรม
บทวิเคราะห์
ในบทนี้ ซุนวูได้อรรถาธิบายปัญหาการชี้นำการรบซึ่ง “เลี่ยงที่แข็งตีที่อ่อน” “ชนะตามสภาพข้าศึก” และโจมตีข้าศึกอย่างพลิกแพลงเป็นฝ่ายการะทำ เขาเห็นว่า “รูปลักษณ์การรบดุจดั่งน้ำ” การหลั่งไหลของน้ำคือ “เลี่ยงที่สูงลงที่ต่ำ” “ไหลตามสภาพพื้นที่” เมื่อบัญชาการรบก็จะต้อง “เลี่ยงที่แข็งตีที่อ่อน” “ชนะตามสภาพข้าศึก” “ผู้สามารถเอาชนะขณะที่สภาพข้าศึกเปลี่ยนแปลง เรียกว่าเทพ”
ความคิดชี้นำของซุนวูนี้ ทีคุณค่าอย่างใหญ่หลวงต่อการเลือกเป้าหมายการรบ ทิศทางการรบและการชี้นำปฎิบัติการรบของกองทัพอย่างถูกต้อง
ในขณะที่อธิบายคามคิดข้อนี้นั้น ซุนวูได้ใช้เนื้อที่ค่อยข้างมาก ยืนยันความเปลี่ยนแปลงได้ทางการทหารของ “ความอ่อนและความแข็ง” ชี้ว่า “การรบจึงไม่มีรูปลักษณ์ตายตัว น้ำก็ไม่มีรูปร่างแน่นอน” ความอ่อนแอและความแข็งก็เหมือนดั่ง "ห้าธาตูไม่มีธาติใดชนะตลดากาล สี่ฤดูก็ไม่อยู่คงที่เสมอไป ดวงตะวันมีสั้นยาว ดาวเดือนก็มีขึ้นมีแรม” อยู่ในภาวะเปลี่ยนแปลงเป็นจิจนิรันดร์ ขอแต่ให้สันทัดในการยึดกุมกฎเกณฑ์แห่งการเปลี่ยนแปลงของมัน ก็สามารถเปลี่ยน “ความแข็ง” ของข้าศึกให้เป็น “ความอ่อน” เปลี่ยน “ความอ่อน” ของตนให้เป็น “ความแข็ง” ทำถึงขั้นใช้ความแข็งของตนตีความอ่อนข้าศึก เพื่อช่วงชิงชัยชนะในการรบได้ ฉะนั้นซุนวูจึงกล่าวว่า “ชัยชนะ สร้างขึ้นได้ ข้าศึกแม้จะมาก ก็อาจทำให้รบมิได้”
ความคิดของซุนวูเหล่านี้ มีเค้ามูลของความคิดวัตถุนิยมวิภาษวิธีอยู่ เป็นการสะท้อนออกของความคิดก้าวหน้าของชนชั้นเจ้าที่ดินที่เกิดใหม่สมัยนั้น ซึ่งบุคคลที่เป็นตัวแทนของอิธิพลเสื่อมโทรมทั้งหมดเวลานั้นได้มองปัญหาสงครามอย่างโดดเดี่ยว หยุดนิงและด้านเดียวอันเป็นทัศนะอภิปรัชญา พวกเขามักจะมองความสัมพันธ์ระหว่างมากกันน้อย รุกกับรับสถานการณ์ทั้งหมดกับสถานการณ์เฉพาะส่วน ในกระบวนแห่งสงครามเหล่านี้ เป็นสิ่งซึ่งตายตัวไม่เปลี่ยนแปลง จนเน้น “เล็กสู้ใหญ่ไม่ได้ น้อยสู้มากไม่ได้ อ่อนสู้แข็งไม่ได้” อย่างด้านเดียว สิ่งเหล่านี้ ก็คือการสะท้อนออกของจิตนิยมและกลไกนิยม ในปัญหาสงคราของพวกเขา
ซุนวูเริ่มต้นจากความคิด “ชัยชนะสร้างขึ้นได้” ในขณะเดียวกันก็เสนอหลักการการทหารที่สำคัญเช่น “การกระทำต่อผู้อื่นใช่ถูกผู้อื่นกระทำ” และ “เรารวมศูนย์แต่ข้าศึกกระจาย” ขึ้นมาอีก เขาเห็นว่า ผู้สันทัดการชี้นำสงครามสามารถอาศัยความพยายามทางอัตวิสัยช่วงชิงให้ได้มาซึ่งอำนาจการเป็นฝ่ายกระทำ เคลื่อนย้ายข้าศึกโดยมิใช่ถูกข้าศึกเคลื่อนย้าย ดังเช่น หลอกลวงข้าศึกด้วยวิธีการ “เผยรูปลักษณ์การรบ” ต่างๆนานา เพื่อปกปิดความมุ่งหมายแห่งปฎิบัติการของตน ซึ่งสามารถจะแยกกระจายข้าศึกแต่รวมศูนย์กำลังของตนเอง ทำจนถึงขั้น "เรารวมเป็นหนึ่ง ข้าศึกกระจายเป็นสิบ" กระทั้งทำให้ข้าศึก “เตรียมทุกด้าน ทุกด้านก็น้อย” ตกอยู่ในภาวะเป็นฝ่ายถูกกระทำ และฝ่ายตน “พึงตีข้าศึกที่มิอาจหนุนช่วย” “โจมตีที่ข้าศึกต้องช่วย” โจมตีข้าศึกอย่างผลิกแพลงเป็นฝ่ายการะทำ บงการชะตากรรมของข้าศึก
การอรรถาธิบายของซุนวูเหล่านี้ เป็นที่ยกย่อยแก่นักการทหารที่มีชื่อตลอดมา ซึ่งหลักการพื้นฐานบางประการนั้น ยังเปี่ยมล้นไปด้วยพลังชีวิตจวนจนปัจจุบัน
ที่สามารถทำให้ข้าศึกมาเอง ก็เพราะล่อด้วยประโยชน์ ที่สามารถทำให้ข้าศึกมิกล้าเข้า ก็เพระเผยให้เห็นภัย ฉะนั้น ข้าศึกสดชื่นพึงให้อิดโรย อิ่มพึงให้หิว สงบพึงให้เคลื่อน
พึงตีที่ข้าศึกมิอาจหนุนช่วย พึงรุกที่ข้าศึกมิได้คาดคิด เดินทัพพันลี้มิเหนื่อย เพราะเดินในที่ปลอดคน โจมตีก็ต้องได้เพราะข้าศึกมิอาจป้องกัน รักษาก็ต้องมั่นคง เพราะข้าศึกมิอาจเข้าตี
ฉะนั้น ผู้สันทัดการโจมตี ข้าศึกมิรู้ทีจะตั้งรับ ผู้สันทัดการตั้งรับ ข้าศึกมิรู้ที่จะโจมตี แยบยลแสนจะแยบยล จนมิเห็นแม้วี่แววพิสดารสุดพิสดาร จนไร้สิ้นซึ่งสำเนียง ฉะนั้น จึงสามารถบัญชาชะตากรรมข้าศึก
รุกก็มิอาจต้านทาน เพราตีจุดอ่อนข้าศึก ถอยก็มิอาจประชิต เพราะเร็วจนสุดจะไล่ ฉะนั้น เมื่อเราจักรบ แม้ข้าศึกมีป้อมสูงคูลึก ก็จำต้องรบกับเรา เพราะโจมตีจุดที่ข้าศึกต้องช่วย เมื่อเราไม่รบ แม้ป้องกันเพียงขีดเส้นเขต ข้าศึกก็มาอาจรบด้วย เพราะได้ถูกชักนำไปอื่น
ฉะนั้น ให้ข้าศึกเผยรูปลักษณ์แต่เราไร้รูปลักษณ์ เราจึงรวมศูนย์ แต่ข้าศึกกระจาย เรารวมเป็นหนึ่ง ข้าศึกกระจายเป็นสิบ เอาสิบไปตีหนึ่งของข้าศึก เราก็มากแต่ข้าศึกน้อย เมื่อเอามากไปตีน้อย ผู้ที่เรารบด้วยก็มีจำกัด
พื้นที่ซี่งเรากำหนดเป็นสนามรบ มิควรให้รู้ เมื่อมิรู้ ข้าศึกจำต้องเตรียมการมากด้าน เมื่อเตรียมการมากด้าน กำลังที่เรารบด้วย ก็น้อย ฉะนั้น เตรียมหน้า หลังก็น้อย เตรียมหลัง หน้าก็น้อย เตรียมซ้าย ขวาก็น้อย เตรียมขวา ซ้ายก็น้อย เตรียมทุกด้าน ทุกด้านก็น้อย ฝ่ายน้อย เพราะเตรียมรับข้าศึก ฝ่ายมาก เพราะให้ข้าศึกเตรียมรับตน
ฉะนั้น เมื่อรู้สนามรบ รู้วันเวลารบ ก็ออกรบได้ไกลพันลี้ หากมิรู้สนามรบ มิรู้วันเวลารบ ซ้ายก็มิอาจช่วยขวา ขวาก็มิอาจช่วยซ้าย หน้าก็มิอาจช่วยหลัง หลังก็มิอาจช่วยหน้า จักรบไกลหลายสิบลี้ หรือใกล้ไม่กี่ลี้ได้ไฉน
ตามการคาดคะเนของเรา ชาวแคว้นเย่แม้ทหารจะมาก จักเกิดผลแพ้ชนะได้ไฉน
ฉะนั้น พึงวินิจฉัยเพื่อรู้แผนซึ่งจะเกิดผลได้เสีย พึงดำเนินการเพื่อรู้เหตุความเป็นไป พึงสังเกตการณ์เพื่อรู้จุดเป็นตาย พึงลองเข้าตีเพื่อรู้ส่วนขาดเกิน
ฉะนั้น การเผยรูปลักษณ์ชั้นเลิศ จึงปราศจากเค้าเงื่อน เมื่อปราศจากเค้าเงือน จารชนที่แฝงตัวก็มิอาจรู้เห็น ผู้มีสติปัญญาก็มิอาจใช้อุบาย
แม้ชัยชนะจะปรากฏต่อผู้คนเพราะรูปลักษณ์ คนทั้งหลายก็มิอาจรู้ ผู้คนล่วงรู้ว่ารูปลักษณ์ทำให้เราชนะ แต่ไม่รู้รูปลักษณ์ของเราว่าเหตุใดจึงชนะ ฉะนั้น ชัยชนะจึงไม่ซ้ำซาก แต่จักมิรู้สิ้นตามรูปลักษณ์
รูปลักษณ์การรบดุจดั่งน้ำ รูปลักษณ์ของน้ำ เลี่อนที่สูงลงที่ต่ำ รูปลักษณ์การรบ เลี่ยงที่แข็งตีที่อ่อน น้ำไหลไปตามสภาพพิ้นที่ การรบชนะตามสภาพข้าศึก ฉะนั้น การรบจึงไม่มีรูปลักษณ์ตายตัวน้ำก็ไม่มีรูปร่างแน่นอน ผู้สามารถเอาชนะขณะที่สภาพข้าศึกเปลี่ยนแปลเรียกว่าเทพ
ฉะนั้น ห้าธาตุจึงไม่มีธาตุไหนชนะตลอดกาล สี่ฤดูก็ไมอยู่คงทีเสมอไป ดวงตะวันมีสั้นมียาว ดวงเดือนก็มีขึ้นมีแรม
บทวิเคราะห์
ในบทนี้ ซุนวูได้อรรถาธิบายปัญหาการชี้นำการรบซึ่ง “เลี่ยงที่แข็งตีที่อ่อน” “ชนะตามสภาพข้าศึก” และโจมตีข้าศึกอย่างพลิกแพลงเป็นฝ่ายการะทำ เขาเห็นว่า “รูปลักษณ์การรบดุจดั่งน้ำ” การหลั่งไหลของน้ำคือ “เลี่ยงที่สูงลงที่ต่ำ” “ไหลตามสภาพพื้นที่” เมื่อบัญชาการรบก็จะต้อง “เลี่ยงที่แข็งตีที่อ่อน” “ชนะตามสภาพข้าศึก” “ผู้สามารถเอาชนะขณะที่สภาพข้าศึกเปลี่ยนแปลง เรียกว่าเทพ”
ความคิดชี้นำของซุนวูนี้ ทีคุณค่าอย่างใหญ่หลวงต่อการเลือกเป้าหมายการรบ ทิศทางการรบและการชี้นำปฎิบัติการรบของกองทัพอย่างถูกต้อง
ในขณะที่อธิบายคามคิดข้อนี้นั้น ซุนวูได้ใช้เนื้อที่ค่อยข้างมาก ยืนยันความเปลี่ยนแปลงได้ทางการทหารของ “ความอ่อนและความแข็ง” ชี้ว่า “การรบจึงไม่มีรูปลักษณ์ตายตัว น้ำก็ไม่มีรูปร่างแน่นอน” ความอ่อนแอและความแข็งก็เหมือนดั่ง "ห้าธาตูไม่มีธาติใดชนะตลดากาล สี่ฤดูก็ไม่อยู่คงที่เสมอไป ดวงตะวันมีสั้นยาว ดาวเดือนก็มีขึ้นมีแรม” อยู่ในภาวะเปลี่ยนแปลงเป็นจิจนิรันดร์ ขอแต่ให้สันทัดในการยึดกุมกฎเกณฑ์แห่งการเปลี่ยนแปลงของมัน ก็สามารถเปลี่ยน “ความแข็ง” ของข้าศึกให้เป็น “ความอ่อน” เปลี่ยน “ความอ่อน” ของตนให้เป็น “ความแข็ง” ทำถึงขั้นใช้ความแข็งของตนตีความอ่อนข้าศึก เพื่อช่วงชิงชัยชนะในการรบได้ ฉะนั้นซุนวูจึงกล่าวว่า “ชัยชนะ สร้างขึ้นได้ ข้าศึกแม้จะมาก ก็อาจทำให้รบมิได้”
ความคิดของซุนวูเหล่านี้ มีเค้ามูลของความคิดวัตถุนิยมวิภาษวิธีอยู่ เป็นการสะท้อนออกของความคิดก้าวหน้าของชนชั้นเจ้าที่ดินที่เกิดใหม่สมัยนั้น ซึ่งบุคคลที่เป็นตัวแทนของอิธิพลเสื่อมโทรมทั้งหมดเวลานั้นได้มองปัญหาสงครามอย่างโดดเดี่ยว หยุดนิงและด้านเดียวอันเป็นทัศนะอภิปรัชญา พวกเขามักจะมองความสัมพันธ์ระหว่างมากกันน้อย รุกกับรับสถานการณ์ทั้งหมดกับสถานการณ์เฉพาะส่วน ในกระบวนแห่งสงครามเหล่านี้ เป็นสิ่งซึ่งตายตัวไม่เปลี่ยนแปลง จนเน้น “เล็กสู้ใหญ่ไม่ได้ น้อยสู้มากไม่ได้ อ่อนสู้แข็งไม่ได้” อย่างด้านเดียว สิ่งเหล่านี้ ก็คือการสะท้อนออกของจิตนิยมและกลไกนิยม ในปัญหาสงคราของพวกเขา
ซุนวูเริ่มต้นจากความคิด “ชัยชนะสร้างขึ้นได้” ในขณะเดียวกันก็เสนอหลักการการทหารที่สำคัญเช่น “การกระทำต่อผู้อื่นใช่ถูกผู้อื่นกระทำ” และ “เรารวมศูนย์แต่ข้าศึกกระจาย” ขึ้นมาอีก เขาเห็นว่า ผู้สันทัดการชี้นำสงครามสามารถอาศัยความพยายามทางอัตวิสัยช่วงชิงให้ได้มาซึ่งอำนาจการเป็นฝ่ายกระทำ เคลื่อนย้ายข้าศึกโดยมิใช่ถูกข้าศึกเคลื่อนย้าย ดังเช่น หลอกลวงข้าศึกด้วยวิธีการ “เผยรูปลักษณ์การรบ” ต่างๆนานา เพื่อปกปิดความมุ่งหมายแห่งปฎิบัติการของตน ซึ่งสามารถจะแยกกระจายข้าศึกแต่รวมศูนย์กำลังของตนเอง ทำจนถึงขั้น "เรารวมเป็นหนึ่ง ข้าศึกกระจายเป็นสิบ" กระทั้งทำให้ข้าศึก “เตรียมทุกด้าน ทุกด้านก็น้อย” ตกอยู่ในภาวะเป็นฝ่ายถูกกระทำ และฝ่ายตน “พึงตีข้าศึกที่มิอาจหนุนช่วย” “โจมตีที่ข้าศึกต้องช่วย” โจมตีข้าศึกอย่างผลิกแพลงเป็นฝ่ายการะทำ บงการชะตากรรมของข้าศึก
การอรรถาธิบายของซุนวูเหล่านี้ เป็นที่ยกย่อยแก่นักการทหารที่มีชื่อตลอดมา ซึ่งหลักการพื้นฐานบางประการนั้น ยังเปี่ยมล้นไปด้วยพลังชีวิตจวนจนปัจจุบัน
บทที่ 5 พลานุภาพ
อันการปกครองไพร่พลมาก ให้เสมือนหนึ่งปกครองไพร่พลน้อย ก็ด้วยการจัดกำลังพล การบัญชาไพร่พลมาก ให้เหมือนหนึ่งบัญชาไพร่พลน้อย ก็ด้วยการจัดอาณัติสัญญาน ไพร่พลสามทัพมิพ่ายเมื่อสู้ข้าศึก ก็ด้วยการรบสามัญและพิสดาร การรุกรบข้าศึก ประหนึ่งเอาหินทุ่มไข่ ก็ด้วยการแข็งตีอ่อน
อันการรบนั้น สู้ศึกด้วยรบสามัญ ชนะด้วยรบพิสดาร ฉะนันผู้สันทัดการรบพิสดาร จักไร้สิ้นสุดดุจฟ้าดิน จักมิเหือดแห้งดุจสายน้ำ จักหยุดหรือหวนรบดุจเดือนตะวัน จักตายหรือกลับฟื้นดุจฤดูกาล เสียงมีเพียงห้า ห้าเสียงพลิกผัน จึงฟังมิรู้เบื่อ สีมีเพียงห้า ห้าสีพลิกผัน จึงดูมิรู้หน่าย รสมีเพียงห้า ห้ารสผลิกผัน จึงลิ้มมิรู้จาง สถานะศึก มีเพียงสามัญ และพิสดาร สามัญและพิสดารพลิกผันจึงเห็นมิรู้จบ สามัญและพิสดารพัวพันหันเหียน ดุจวงกลมที่มิมีจุดเริ่มต้น จักมีที่สิ้นสุดได้ไฉน
ความแรงของกระแสน้ำไหลเชียว สามารถพัดหินลอย เคลื่อนนี้คือพลานุภาพ ความเร็วยามเหยี่ยวบินโฉบ สามารถพิชิตส้ำสัตว์ นี้คือช่วงระยะ เหตุนี้ผู้สันทัดการรบ จึงมีพลานุภาพเหี้ยมหาญ มีช่วงระยะสั้น พลานุภาพเหมือนหนึ่งเหนี่ยวน้าวเกาทัณฑ์ช่วงระยะเหมือนหนึ่งปล่อยเกาทัณฑ์สู่เป้า
การรบจัดซับซ้อนสับสน แม้อลหม่านก็มิควรระส่ำระสาย การรบจักชลมุนวุ่นวาย หากขบวนทัพเป็นระเบียบก็จะมิพ่าย
ความวุ่นวายเกิดจากความเรียบร้อย ความขลาดกลัวเกิดจากความกล้าหาญ ความอ่อนแอเกิดจากความเข้มแข็ง จักเรียบร้อยหรอือวุ่นวาย อยู่ทีการจัดกำลังพล จักกล้าหาญหรือขลาดกลัว อยู่ที่พลานุภาพ จักอ่อนแอหรือเข้มแข็ง อยู่ที่รูปลักษณ์การรบ
ฉะนั้น ผู้สันทัดการเคลื่อนทัพข้าศึก พึงสร้างรูปลักษณ์ให้ข้าศึกต้องคล้อยตาม พึงวางเหยื่อล่อ ให้ข้าศึกรีบฉวย ให้หวั่นไหวด้วยผลประโยชน์ จึงพิชิตด้วยกำลัง
ฉะนั้น ผู้สันทัดการรบ พึงแสวงหาจากพลานุภาพ มิพึงเรียกร้อยจากผู้อื่น จึงจะสามารถเลือกเฟ้นคนซึ่งใช้พลานุภาพเป็น ผู้ใช้พลานุภาพจักประหนึ่งรุนท่อนซุงและก้อนหิน ธรรมชาติขอท่อนซุงและก้อนหิน อยู่ที่ราบก็นิ่ง อยู่ที่ลาดก็เคลื่อน ที่เป็นเหลี่ยมก็หยุดที่กลมเกลี้ยงก็กลิ้ง พลานุภาพของผู้สันทัดการรบ จึงประดุจผลักหินกลมลงจากภูเขาสูงแปดพันเซียะ นี้ก็คือพลานุภาพ
บทวิเคราะห์
ซุนวูให้ความสำคัญแก่ “การใช้พลานุภาพ” เป็นอันมาก “พลานุภาพ” ที่เขาพูดถึง หมายถึงการขยายสมรรถนะการบัญชาของแม่ทัพอย่างเต็มที่ ถือพลังอันแท้จริงทางการทหารของตนเป็นรากฐาน สร้างสถานะอันมีพลังฮึกห้าว ซึ่งสามารถกดความฮึกห้าวข้าศึกลงไปได้ เขาเห็นว่าภายใต้สภานะเช่นนี้ ไพร่พลก็จะห้าวหาญสุดจะเปรียบ พลังสู้รบของกองทัพ ก็จะได้รับการแสดงออกอย่างเต็มที่ ดุจดั่งน้ำเชี่ยวพัดหินลอยเคลื่อน กลิ้งหินกลมลงจากเขาสูง 8,000 เซียะฉะนั้น
ซุนวูเล็งเห็นถึงความสำคัญของ “สามัญและพิสดาร” เช่นกันโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ “พิสดาร” เขากล่าวว่า “อันการรบนั้นสู้ศึกด้วยรบสามัญ ชนะด้วยรบพิสดาร” ซึ่งก็หมายความว่าการรบนั้นที่สำคัญอาศัยเอาชนะด้วยการรบพิสดาร ซุนวูเห็นว่า “สถานะศึกมีเพียงสามัญและพิสดาร” ซึงความสัมพันธ์ระหว่าง “สามัญ” กับ “พิสดาร” ก็พัวพันหันเหียนซึ่งกันและกัน “พิสดาร” อาจแปรเปลี่ยนเป็น “สามัญ” "สามัญ" ก็อาจแปรเปลี่ยนเป็น "พิสดาร" ได้ ดังที่ว่า "สามัญและพิสดารผลิกผัน จึงเห็นมิรู้จบ" เขาเห็นว่า แม่ทัพผู้มีสติปัญญา สามารถเปลี่ยนแปลงวิธีการรบเป็นพิสดารหรือสามัญได้ ตามสภาพการเปลี่่ยนแปลงของสถานการณ์ศึกเหมือนดั่ง “จักไม่รู้สิ้นสุดดุจฟ้าดินจึงมิเหือดแห่งดุจสายน้ำ” มักจะสันทัดในการใช้วิธีรบพิสดาร ตีข้าศึกให้พ่ายไป
เพื่อที่จะสร้างพลานุภาพและใช้พลานุภาพ ซุนวูเน้นว่าจะต้อง “เผยรูปลักษณ์” “เคลื่อนทัพข้าศึก” เขาเห็นว่า นี่ก็คือมาตรการสำคัญในการบรรลุ “เอาชนะด้วยการรบพิสดาร” เขากล่าวว่า “ผู้สันทัดการรบ พึงสร้างรูปลักษณ์ ให้ข้าศึกต้องคล้อยตาม พึงวางเหยื่อล่า ให้ข้าศึกรีบฉวยให้หวั่นไหวด้วยผลประโยชน์ จึงพิชิตด้วยกำลัง”
เหมาเจ๋อตงเคยให้การประเมินยอมรับในปัญหาการเผยรูปลักษณ์นี้ได้เคยชี้ไว้ในจุลสาร “ปัญหายุทธศาสตร์ในสงครามปฎิวัติของจีน” ว่า “เราสามารถที่จะสร้างความผิดพลาดของข้าศึกขึ้นมาได้ด้วยน้ำมือของเราเอง ทำนองที่ซุนวูกล่าวไว้ว่า “การเผยรูปลักษณ์” ( การเผยรูปลักษณ์ทางตะวันออกแต่เข้าตีทางตะวันตก ก็คือสิ่งที่เรียกว่า “สงเสียงบูรพาฝ่าตีประจิม” นั้นเอง )"
ในขณะที่ซุนวูอรรถาธิบายการใช้การพลิกผันของสามัญและพิสดารนั้น ได้เผยให้เห็นความคิดวิภาษวิธีแบบง่ายๆ ของเขาอย่างเด่นชัด ทัศนะสามัญและพิสดารพัวพันซึ่งกันและกัน สามัญและพิสดารแปรเปลี่ยนหันเหียนของซุนวูนี้ มิใช้แต่จะมีคุณค่าอันใหญ่หลวงทางด้านประวัติวิชาการทหารเท่านั้น ในประวัติปรัชญาก็มีฐานะสำคัญที่แน่นอนในระดับหนึ่งอยู่ด้วยเช่นกัน
อย่างไรก็ดี เนื่องจากการจำกัดของยุคสมัย ในสายตาของซุนวู การพัฒนาเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งในโลก เป็นเพียงการ “หยุดกลับหวนคือ” “ตายกลับหวนฟื้น” “ดุจวงกลมที่ไม่มิมีจุดเริ่มต้น” เท่านั้น มองไม่เห็นว่า สรรพสิ่งได้พัฒนาก้าวหน้าสูงขึ้นไปโดยหมุนเป็นเกลียวดุจก้นหอยฉะนั้น
อันการรบนั้น สู้ศึกด้วยรบสามัญ ชนะด้วยรบพิสดาร ฉะนันผู้สันทัดการรบพิสดาร จักไร้สิ้นสุดดุจฟ้าดิน จักมิเหือดแห้งดุจสายน้ำ จักหยุดหรือหวนรบดุจเดือนตะวัน จักตายหรือกลับฟื้นดุจฤดูกาล เสียงมีเพียงห้า ห้าเสียงพลิกผัน จึงฟังมิรู้เบื่อ สีมีเพียงห้า ห้าสีพลิกผัน จึงดูมิรู้หน่าย รสมีเพียงห้า ห้ารสผลิกผัน จึงลิ้มมิรู้จาง สถานะศึก มีเพียงสามัญ และพิสดาร สามัญและพิสดารพลิกผันจึงเห็นมิรู้จบ สามัญและพิสดารพัวพันหันเหียน ดุจวงกลมที่มิมีจุดเริ่มต้น จักมีที่สิ้นสุดได้ไฉน
ความแรงของกระแสน้ำไหลเชียว สามารถพัดหินลอย เคลื่อนนี้คือพลานุภาพ ความเร็วยามเหยี่ยวบินโฉบ สามารถพิชิตส้ำสัตว์ นี้คือช่วงระยะ เหตุนี้ผู้สันทัดการรบ จึงมีพลานุภาพเหี้ยมหาญ มีช่วงระยะสั้น พลานุภาพเหมือนหนึ่งเหนี่ยวน้าวเกาทัณฑ์ช่วงระยะเหมือนหนึ่งปล่อยเกาทัณฑ์สู่เป้า
การรบจัดซับซ้อนสับสน แม้อลหม่านก็มิควรระส่ำระสาย การรบจักชลมุนวุ่นวาย หากขบวนทัพเป็นระเบียบก็จะมิพ่าย
ความวุ่นวายเกิดจากความเรียบร้อย ความขลาดกลัวเกิดจากความกล้าหาญ ความอ่อนแอเกิดจากความเข้มแข็ง จักเรียบร้อยหรอือวุ่นวาย อยู่ทีการจัดกำลังพล จักกล้าหาญหรือขลาดกลัว อยู่ที่พลานุภาพ จักอ่อนแอหรือเข้มแข็ง อยู่ที่รูปลักษณ์การรบ
ฉะนั้น ผู้สันทัดการเคลื่อนทัพข้าศึก พึงสร้างรูปลักษณ์ให้ข้าศึกต้องคล้อยตาม พึงวางเหยื่อล่อ ให้ข้าศึกรีบฉวย ให้หวั่นไหวด้วยผลประโยชน์ จึงพิชิตด้วยกำลัง
ฉะนั้น ผู้สันทัดการรบ พึงแสวงหาจากพลานุภาพ มิพึงเรียกร้อยจากผู้อื่น จึงจะสามารถเลือกเฟ้นคนซึ่งใช้พลานุภาพเป็น ผู้ใช้พลานุภาพจักประหนึ่งรุนท่อนซุงและก้อนหิน ธรรมชาติขอท่อนซุงและก้อนหิน อยู่ที่ราบก็นิ่ง อยู่ที่ลาดก็เคลื่อน ที่เป็นเหลี่ยมก็หยุดที่กลมเกลี้ยงก็กลิ้ง พลานุภาพของผู้สันทัดการรบ จึงประดุจผลักหินกลมลงจากภูเขาสูงแปดพันเซียะ นี้ก็คือพลานุภาพ
บทวิเคราะห์
ซุนวูให้ความสำคัญแก่ “การใช้พลานุภาพ” เป็นอันมาก “พลานุภาพ” ที่เขาพูดถึง หมายถึงการขยายสมรรถนะการบัญชาของแม่ทัพอย่างเต็มที่ ถือพลังอันแท้จริงทางการทหารของตนเป็นรากฐาน สร้างสถานะอันมีพลังฮึกห้าว ซึ่งสามารถกดความฮึกห้าวข้าศึกลงไปได้ เขาเห็นว่าภายใต้สภานะเช่นนี้ ไพร่พลก็จะห้าวหาญสุดจะเปรียบ พลังสู้รบของกองทัพ ก็จะได้รับการแสดงออกอย่างเต็มที่ ดุจดั่งน้ำเชี่ยวพัดหินลอยเคลื่อน กลิ้งหินกลมลงจากเขาสูง 8,000 เซียะฉะนั้น
ซุนวูเล็งเห็นถึงความสำคัญของ “สามัญและพิสดาร” เช่นกันโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ “พิสดาร” เขากล่าวว่า “อันการรบนั้นสู้ศึกด้วยรบสามัญ ชนะด้วยรบพิสดาร” ซึ่งก็หมายความว่าการรบนั้นที่สำคัญอาศัยเอาชนะด้วยการรบพิสดาร ซุนวูเห็นว่า “สถานะศึกมีเพียงสามัญและพิสดาร” ซึงความสัมพันธ์ระหว่าง “สามัญ” กับ “พิสดาร” ก็พัวพันหันเหียนซึ่งกันและกัน “พิสดาร” อาจแปรเปลี่ยนเป็น “สามัญ” "สามัญ" ก็อาจแปรเปลี่ยนเป็น "พิสดาร" ได้ ดังที่ว่า "สามัญและพิสดารผลิกผัน จึงเห็นมิรู้จบ" เขาเห็นว่า แม่ทัพผู้มีสติปัญญา สามารถเปลี่ยนแปลงวิธีการรบเป็นพิสดารหรือสามัญได้ ตามสภาพการเปลี่่ยนแปลงของสถานการณ์ศึกเหมือนดั่ง “จักไม่รู้สิ้นสุดดุจฟ้าดินจึงมิเหือดแห่งดุจสายน้ำ” มักจะสันทัดในการใช้วิธีรบพิสดาร ตีข้าศึกให้พ่ายไป
เพื่อที่จะสร้างพลานุภาพและใช้พลานุภาพ ซุนวูเน้นว่าจะต้อง “เผยรูปลักษณ์” “เคลื่อนทัพข้าศึก” เขาเห็นว่า นี่ก็คือมาตรการสำคัญในการบรรลุ “เอาชนะด้วยการรบพิสดาร” เขากล่าวว่า “ผู้สันทัดการรบ พึงสร้างรูปลักษณ์ ให้ข้าศึกต้องคล้อยตาม พึงวางเหยื่อล่า ให้ข้าศึกรีบฉวยให้หวั่นไหวด้วยผลประโยชน์ จึงพิชิตด้วยกำลัง”
เหมาเจ๋อตงเคยให้การประเมินยอมรับในปัญหาการเผยรูปลักษณ์นี้ได้เคยชี้ไว้ในจุลสาร “ปัญหายุทธศาสตร์ในสงครามปฎิวัติของจีน” ว่า “เราสามารถที่จะสร้างความผิดพลาดของข้าศึกขึ้นมาได้ด้วยน้ำมือของเราเอง ทำนองที่ซุนวูกล่าวไว้ว่า “การเผยรูปลักษณ์” ( การเผยรูปลักษณ์ทางตะวันออกแต่เข้าตีทางตะวันตก ก็คือสิ่งที่เรียกว่า “สงเสียงบูรพาฝ่าตีประจิม” นั้นเอง )"
ในขณะที่ซุนวูอรรถาธิบายการใช้การพลิกผันของสามัญและพิสดารนั้น ได้เผยให้เห็นความคิดวิภาษวิธีแบบง่ายๆ ของเขาอย่างเด่นชัด ทัศนะสามัญและพิสดารพัวพันซึ่งกันและกัน สามัญและพิสดารแปรเปลี่ยนหันเหียนของซุนวูนี้ มิใช้แต่จะมีคุณค่าอันใหญ่หลวงทางด้านประวัติวิชาการทหารเท่านั้น ในประวัติปรัชญาก็มีฐานะสำคัญที่แน่นอนในระดับหนึ่งอยู่ด้วยเช่นกัน
อย่างไรก็ดี เนื่องจากการจำกัดของยุคสมัย ในสายตาของซุนวู การพัฒนาเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งในโลก เป็นเพียงการ “หยุดกลับหวนคือ” “ตายกลับหวนฟื้น” “ดุจวงกลมที่ไม่มิมีจุดเริ่มต้น” เท่านั้น มองไม่เห็นว่า สรรพสิ่งได้พัฒนาก้าวหน้าสูงขึ้นไปโดยหมุนเป็นเกลียวดุจก้นหอยฉะนั้น
บทที่ 4 รูปลักษณ์การรบ
ผู้สันทัดการรบในอดีต จักทำให้ตนมิิอาจพิชิตได้ก่อน เพื่อรอโอกาสข้าศึกจะถูกพิชิต มิอาจพิชิตเป็นฝ่ายตน ถูกพิชิตเป็นฝ่ายข้าศึก ฉะนั้น ผู้สันทัดการรบ อาจทำให้ตนมิอาจพิชิตได้ แต่ไม่อาจทำให้ข้าศึกจะต้องถูกพิชิต ดังนี้จึงว่า ชัยชนะอาจล่วงรู้ แต่ไม่อาจกำหนดได้ ผู้ที่เราไม่อาจเอาชนะ พึงตั้งรับ ผู้ที่เราอาจเอาชนะ พึงเข้าตี ตั้งรับเพราะกำลังไม่พอ เข้าตีเพราะกำลังเหลือเฟือ
ผู้สันทัดการตั้งรับ จักประหนึ่งซ่อนตัวอยู่ใต้บาดาล ผู้สันทัดการเข้าตี จักประหนึ่งเคลื่อนตัวอยู่เหนือฝากฟ้า ฉะนั้น จึงสามารถพิทักษ์ตนเอง ให้ได้รับชัยชนะได้อย่างสมบูรณ์
หยั่งเห็นในชัยชนะมิเกิดซึ่งคนทั้งปวงรู้ หาใช้ความยอดเยี่ยมที่แท้ไม่ รบชนะเป็นที่สรรเสริญแก่ชาวโลก หาใช้ความยอดเยี่ยมที่แท้จริงไม่ ฉะนั้น ยกขนนกขึ้นได้ใช้ว่าทรงพลัง เห็นแสงเดือนตะวัน ใช่ว่าตาสว่าง ได้ยินเสียงฟ้าคำรณใช้ว่าโสตไว
ที่โบราณเรียกว่าผู้สันทัดการรบนั้น คือชนะผู้ที่เอาชนะได้ง่าย ฉะนั้น ชัยชนะของผู้สันทัดการรบ จึงมิได้ชื่อว่ามีสติปัญญา มิมีความชอบในเชิงกล้าหาญ ฉะนั้น ชัยชนะของเขาจึงมิพึงกังขา เหตุที่มิพึงกังขา ก็เพราะปฏิบัติการของเขาจักต้องชนะ จึงชนะ ผู้ที่ต้องพ่ายแพ้ ฉะนั้นผู้สันทัดในการรบจึงตั้งอยู่ในฐานะไม่แพ้ และไม่สูญเสียโอกาสทำให้ข้าศึกต้องแพ้
เหตุนี้ ฝ่ายชนะรู้ว่าชนะก่อนจึงออกรบ ฝ่ายแพ้รบก่อนแล้วจึงหวังว่าชนะ
ฉะนั้น ผู้สันทัดการบัญชาทัพ จักจรรโลงไว้ซึ่งมรรคและกฎระเบียบ ฉะนั้น จึงสามารถกำหนดชัยชนะและพ่ายแพ้ได้
หลักแห่งการทำศึก มี หนึ่งคือวินิจฉัย สองคือคำนวณ สามคือประมาณ สี่คือเปรียบเทียบ ห้าคือชัยชนะ
พื้นที่ก่อให้เกิดการวินิจฉัย การวินิจฉัยก่อให้เกิดการคำนวณ การคำนวณก่อให้เกิดประมาณ ประมาณก่อให้เกิดการเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบก่อให้เกิดชัยชนะ
ฉะนั้น กองทัพที่ชนะจึงประดุจเอาหนึ่งอี้ไปเปรียบกับหนึ่งจู กองทัพที่แพ้จึงประดุจเอาหนึ่งจูไปเปรียบกับหนึ่งอี้ ไพร่พลของฝ่ายชนะ จึงเสมือนปล่อยน้ำที่กักในลำธานสูงแปดพันเชียะ ให้ทะลักกระโจมลงมา นี้คือรูปลักษณ์การรบ
บทวิเคราะห์
บทนี้ ที่สำคัญ ซุนวูได้ให้คำอธิบายเรื่องการรบของกองทัพว่า จะต้องทำให้ตนเอง “ตั้งอยู่ในฐานะไม่พ่ายแพ้”
ซุนวูเห็นว่า การเปรียบเทียบกำลังทหารที่แท้จริงระหว่างสองฝ่ายเป็นรากฐานแห่งความมีชัยหรือพ่ายแพ้ของการรบ “กองทัพที่ชนะจึงประดุจเอาอี้ไปเปรียบกับจู” “กองทัพที่แพ้จึงประดุจเอาจูไปเปรียบกับอี้” ( อี้และจูเป็นมาตราชั้งสมัยโบราณของจีน 1 อี้เท่ากับ 20 ตำลึง 1 ตำลึงมี 24 จู 1 อี้จึงเท่ากับ 480 จู ) แม่ทัพผู้สันทัดในการรบ มักจะสร้างความได้เปรียบอย่างสมูบรณ์ทางกำลัง “ฝ่ายชนะรู้ว่าชนะก่อนจึงออกรบ” กองทัพเช่นนี้เมื่อรบ ก็เหมือนดั่งน้ำทีสะสมอยู่ในลำธารสูงที่เป็นพันเชียะ ไหลพุ่งออกมาอันไม่อาจต้านทานได้
โดยเริ่มต้นจากจุดนี้ ซุนวูจึงได้เสนอความคิดชี้นำการรบซึ่ง “จักทำให้ตนมีอาจพิชิตได้ก่อน เพื่อรอโอกาสข้าศึกจะถูกพิชิต” เข้าเน้นว่าหากต้องการช่วงชิงให้ได้ชัยชนะในสงคราม ก่อนอื่นจะต้องทำให้ตนเองตั้งอยู่ในฐานะไม่แพ้ และรอเวลาที่จะตีข้าศึกให้พ่ายไป
ซุนวูเห็นว่า จะสามารถทำถึงขั้น “จักทำให้ตนมิอาจพิชิตได้ก่อน” กุมอำนาจการเป็นฝ่ายกระทำอยู่ในมือของตนนั้น จะทำได้หรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับการ “จรรโลงไว้ซึ่งมรรค ( หมายถึง การสร้างเงื่อนไขต่างๆทุกวิธีทาง เพื่อให้ได้รับชัยชนะ ) และกฎระเบียบ” พยายามคิดหากลอุบายอย่างเต็มที่ก็สามารถ “กำหนดชัยชนะหรือพ่ายแพ้ได"้
แต่ข้าศึกจะมีช่องโหวให้ฉกฉวยหรือไม่ ฝ่ายเราจะได้ชัยชนะจากข้าศึกหรือไม่ ยังอยู่ที่ข้าศึก ฉะนั้น ซุนวูกล่าวว่า “ผู้สันทัดในการรบอาจทำให้ตนมิอาจพิชิตได้ แต่ไม่อาจทำให้ข้าศึกจะต้องถูกพิชิต” อย่างไรก็ดี ขอแต่เพียงว่าก่อนอื่นจะต้องทำให้ตนตั้งอยู่ในฐานะไม่พ่ายแพ้ ความเป็นไปได้ในการรอคอยข้าศึกให้แพ้ไปก็มักจะดำรงอยู่เสมอ
ความคิดชี้นำการรบของซุนวูข้อนี้ เน้นให้ถือกำลังที่แท้จริงของตนเองเป็นพื้นฐาน ไม่ปล่อยโอกาสรบใดๆ ที่สามารถรบชนะให้ผ่านไปมีความมั่นคงแน่นอนพร้องทั้งตระเตรียมอย่างเอาการเอางาน ด้วยเหตุนี้เองความคิด “ฝ่ายชนะรู้ว่าชนะก่อนจึงออกรบ” ของซุนวู จึงได้ความสนใจอย่างสำคัญของนักการทหารทั้งหลายตลอดเวลาทีผ่านมา
ในบทนี้ ซุนวูยังได้อรรถาธิบายปัญหาการรุก การรับ และ “พิทักษ์ตนเองให้ได้ชัยชนะอย่างสมบูรณ์” ซุนวูเห็นว่า เมื่อเงื่อนไขแห่งชัยชนะไม่พอเพียง ก็ควรจะใช้การตั้งรับ เมื่อเงื่อนไขแห่งชัยชนะพอเพียงก็ควรจะเข้าโจมตี ซุนวูยังชี้อีกว่า “ผู้สันทัดการตั้งรับ จักประหนึ่งซ่อนตัวอยู่ใต้บาดาล” ทำให้ข้าศึกไร้ร่องรอยที่จะสังเกตเห็น ไม่มีช่องโหว่ที่จะฉกฉวย “ผู้สันทัดการเข้าตีจักประหนึ่งเคลื่อนตัวอยู่เหลือฟากฟ้า” ทำให้ข้าศึกรับมือไม่ทัน จนปัญญาจะต้านทาน ดังนี้ ก็จะสามารถบรรลุ จุดประสงค์ในการ “พิทักษ์ตนเองได้รับชัยชนะอย่างสมบูรณ์”
ตอนสุดท้ายของบทนี้ ซุนวูได้กล่างไว้ว่า “หลักแห่งการทำศึกมี หนึ่งคือวินิจฉัย สองคือคำนวณ สามคือปริมาณ สี่คือเปรียบเทียบ ห้าคือชัยชนะ” และได้อรรถาธิบายต่อไปว่า “พื้นที่ก่อให้เกิดการวินิจฉัย การวินิจฉัยก่อให้เกิดการคำนวณ การคำนวณก่อให้เกิดปริมาณ ปริมาณก่อให้เกิดการเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบก่อให้เกิดชัยชนะ” นั้น มีผู้รู้อธิบายความหมายเป็น 2 นัยด้วยกันคือ
นัยหนึ่งว่า ดำเนินการวินิจฉัยเพื่อใช้ภูมิประเทศให้เป็นประโยชน์โดยพิจารณาตามสภาพความคับขันหรือปลอดโล่ง ความกว้างหรือแคบ ตามลักษณะเป็นหรือตายของพื้นที่ซึ่งคือภูมิประเทศ อาศัยการวินิจฉัยต่อภูมิประเทศ กำหนดปริมาณจัดวางกำลังทหาร อาศัยปริมาณกำลังทหารทีทั้งสองฝ่ายอาจจะทุ่งเข้าไปในพื้นที่ ดำเนินการเปรียบเทียบ และจากนี้ก็กำหนดความมีชัยหรือพ่ายแพ้ได้
อีกนัยหนึ่งก็ว่า วินิจฉัย คือวินิจฉัยความใหญ่เล็กของพื้นที่ คำนวณ คือคำนวณความมากน้อยของทรัพย์ยากรวัตถุ ดังนี้ ความหมายของคำนี้ทั้งคำก็คืออาณาเขตพื้นที่ของทั้งสองฝ่ายไม่เท่ากัน ก่อให้เกิดการ “คำนวณ” คือทรัพยากรวัตถุที่แตกต่างกัน ทรัพยยากรวัตถุที่แตกต่างกันก่อให้เกิด “ปริมาณ” แห่งการระดมพลและการคงไว้ซึ่งกำลังพลที่แตกต่างกัน กำลังพลมากน้อยที่แตกต่างกัน ก็ก่อให้เกิดการ “เปรียบเทียบ” ทางกำลังพลที่ต่างกัน ความแตกต่างทางกำลัง ก็ก่อให้เกิดความแตกต่างกันแห่งชัยชนะและพ่ายแพ้ของคู่ศึกทั้งสอง
ความคิดของซุนวูต่าง ๆ ดังกล่าวมาข้างต้น มีคุณค่าที่แน่นอน หนึ่งในการชี้นำการรบ ทั้งนี้ก็สุดแท้แต่ว่า ใครจะสามารถยึดกุมความคิดของซุนวูได้อย่างแท้จริง และสามารถนำไปใช้โดยปรับให้เข้ากับสถานการณ์ที่ตนเผชิญอยู่นั้นๆ ได้อย่างเหมาะสมเป็นสำคัญ
ผู้สันทัดการตั้งรับ จักประหนึ่งซ่อนตัวอยู่ใต้บาดาล ผู้สันทัดการเข้าตี จักประหนึ่งเคลื่อนตัวอยู่เหนือฝากฟ้า ฉะนั้น จึงสามารถพิทักษ์ตนเอง ให้ได้รับชัยชนะได้อย่างสมบูรณ์
หยั่งเห็นในชัยชนะมิเกิดซึ่งคนทั้งปวงรู้ หาใช้ความยอดเยี่ยมที่แท้ไม่ รบชนะเป็นที่สรรเสริญแก่ชาวโลก หาใช้ความยอดเยี่ยมที่แท้จริงไม่ ฉะนั้น ยกขนนกขึ้นได้ใช้ว่าทรงพลัง เห็นแสงเดือนตะวัน ใช่ว่าตาสว่าง ได้ยินเสียงฟ้าคำรณใช้ว่าโสตไว
ที่โบราณเรียกว่าผู้สันทัดการรบนั้น คือชนะผู้ที่เอาชนะได้ง่าย ฉะนั้น ชัยชนะของผู้สันทัดการรบ จึงมิได้ชื่อว่ามีสติปัญญา มิมีความชอบในเชิงกล้าหาญ ฉะนั้น ชัยชนะของเขาจึงมิพึงกังขา เหตุที่มิพึงกังขา ก็เพราะปฏิบัติการของเขาจักต้องชนะ จึงชนะ ผู้ที่ต้องพ่ายแพ้ ฉะนั้นผู้สันทัดในการรบจึงตั้งอยู่ในฐานะไม่แพ้ และไม่สูญเสียโอกาสทำให้ข้าศึกต้องแพ้
เหตุนี้ ฝ่ายชนะรู้ว่าชนะก่อนจึงออกรบ ฝ่ายแพ้รบก่อนแล้วจึงหวังว่าชนะ
ฉะนั้น ผู้สันทัดการบัญชาทัพ จักจรรโลงไว้ซึ่งมรรคและกฎระเบียบ ฉะนั้น จึงสามารถกำหนดชัยชนะและพ่ายแพ้ได้
หลักแห่งการทำศึก มี หนึ่งคือวินิจฉัย สองคือคำนวณ สามคือประมาณ สี่คือเปรียบเทียบ ห้าคือชัยชนะ
พื้นที่ก่อให้เกิดการวินิจฉัย การวินิจฉัยก่อให้เกิดการคำนวณ การคำนวณก่อให้เกิดประมาณ ประมาณก่อให้เกิดการเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบก่อให้เกิดชัยชนะ
ฉะนั้น กองทัพที่ชนะจึงประดุจเอาหนึ่งอี้ไปเปรียบกับหนึ่งจู กองทัพที่แพ้จึงประดุจเอาหนึ่งจูไปเปรียบกับหนึ่งอี้ ไพร่พลของฝ่ายชนะ จึงเสมือนปล่อยน้ำที่กักในลำธานสูงแปดพันเชียะ ให้ทะลักกระโจมลงมา นี้คือรูปลักษณ์การรบ
บทวิเคราะห์
บทนี้ ที่สำคัญ ซุนวูได้ให้คำอธิบายเรื่องการรบของกองทัพว่า จะต้องทำให้ตนเอง “ตั้งอยู่ในฐานะไม่พ่ายแพ้”
ซุนวูเห็นว่า การเปรียบเทียบกำลังทหารที่แท้จริงระหว่างสองฝ่ายเป็นรากฐานแห่งความมีชัยหรือพ่ายแพ้ของการรบ “กองทัพที่ชนะจึงประดุจเอาอี้ไปเปรียบกับจู” “กองทัพที่แพ้จึงประดุจเอาจูไปเปรียบกับอี้” ( อี้และจูเป็นมาตราชั้งสมัยโบราณของจีน 1 อี้เท่ากับ 20 ตำลึง 1 ตำลึงมี 24 จู 1 อี้จึงเท่ากับ 480 จู ) แม่ทัพผู้สันทัดในการรบ มักจะสร้างความได้เปรียบอย่างสมูบรณ์ทางกำลัง “ฝ่ายชนะรู้ว่าชนะก่อนจึงออกรบ” กองทัพเช่นนี้เมื่อรบ ก็เหมือนดั่งน้ำทีสะสมอยู่ในลำธารสูงที่เป็นพันเชียะ ไหลพุ่งออกมาอันไม่อาจต้านทานได้
โดยเริ่มต้นจากจุดนี้ ซุนวูจึงได้เสนอความคิดชี้นำการรบซึ่ง “จักทำให้ตนมีอาจพิชิตได้ก่อน เพื่อรอโอกาสข้าศึกจะถูกพิชิต” เข้าเน้นว่าหากต้องการช่วงชิงให้ได้ชัยชนะในสงคราม ก่อนอื่นจะต้องทำให้ตนเองตั้งอยู่ในฐานะไม่แพ้ และรอเวลาที่จะตีข้าศึกให้พ่ายไป
ซุนวูเห็นว่า จะสามารถทำถึงขั้น “จักทำให้ตนมิอาจพิชิตได้ก่อน” กุมอำนาจการเป็นฝ่ายกระทำอยู่ในมือของตนนั้น จะทำได้หรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับการ “จรรโลงไว้ซึ่งมรรค ( หมายถึง การสร้างเงื่อนไขต่างๆทุกวิธีทาง เพื่อให้ได้รับชัยชนะ ) และกฎระเบียบ” พยายามคิดหากลอุบายอย่างเต็มที่ก็สามารถ “กำหนดชัยชนะหรือพ่ายแพ้ได"้
แต่ข้าศึกจะมีช่องโหวให้ฉกฉวยหรือไม่ ฝ่ายเราจะได้ชัยชนะจากข้าศึกหรือไม่ ยังอยู่ที่ข้าศึก ฉะนั้น ซุนวูกล่าวว่า “ผู้สันทัดในการรบอาจทำให้ตนมิอาจพิชิตได้ แต่ไม่อาจทำให้ข้าศึกจะต้องถูกพิชิต” อย่างไรก็ดี ขอแต่เพียงว่าก่อนอื่นจะต้องทำให้ตนตั้งอยู่ในฐานะไม่พ่ายแพ้ ความเป็นไปได้ในการรอคอยข้าศึกให้แพ้ไปก็มักจะดำรงอยู่เสมอ
ความคิดชี้นำการรบของซุนวูข้อนี้ เน้นให้ถือกำลังที่แท้จริงของตนเองเป็นพื้นฐาน ไม่ปล่อยโอกาสรบใดๆ ที่สามารถรบชนะให้ผ่านไปมีความมั่นคงแน่นอนพร้องทั้งตระเตรียมอย่างเอาการเอางาน ด้วยเหตุนี้เองความคิด “ฝ่ายชนะรู้ว่าชนะก่อนจึงออกรบ” ของซุนวู จึงได้ความสนใจอย่างสำคัญของนักการทหารทั้งหลายตลอดเวลาทีผ่านมา
ในบทนี้ ซุนวูยังได้อรรถาธิบายปัญหาการรุก การรับ และ “พิทักษ์ตนเองให้ได้ชัยชนะอย่างสมบูรณ์” ซุนวูเห็นว่า เมื่อเงื่อนไขแห่งชัยชนะไม่พอเพียง ก็ควรจะใช้การตั้งรับ เมื่อเงื่อนไขแห่งชัยชนะพอเพียงก็ควรจะเข้าโจมตี ซุนวูยังชี้อีกว่า “ผู้สันทัดการตั้งรับ จักประหนึ่งซ่อนตัวอยู่ใต้บาดาล” ทำให้ข้าศึกไร้ร่องรอยที่จะสังเกตเห็น ไม่มีช่องโหว่ที่จะฉกฉวย “ผู้สันทัดการเข้าตีจักประหนึ่งเคลื่อนตัวอยู่เหลือฟากฟ้า” ทำให้ข้าศึกรับมือไม่ทัน จนปัญญาจะต้านทาน ดังนี้ ก็จะสามารถบรรลุ จุดประสงค์ในการ “พิทักษ์ตนเองได้รับชัยชนะอย่างสมบูรณ์”
ตอนสุดท้ายของบทนี้ ซุนวูได้กล่างไว้ว่า “หลักแห่งการทำศึกมี หนึ่งคือวินิจฉัย สองคือคำนวณ สามคือปริมาณ สี่คือเปรียบเทียบ ห้าคือชัยชนะ” และได้อรรถาธิบายต่อไปว่า “พื้นที่ก่อให้เกิดการวินิจฉัย การวินิจฉัยก่อให้เกิดการคำนวณ การคำนวณก่อให้เกิดปริมาณ ปริมาณก่อให้เกิดการเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบก่อให้เกิดชัยชนะ” นั้น มีผู้รู้อธิบายความหมายเป็น 2 นัยด้วยกันคือ
นัยหนึ่งว่า ดำเนินการวินิจฉัยเพื่อใช้ภูมิประเทศให้เป็นประโยชน์โดยพิจารณาตามสภาพความคับขันหรือปลอดโล่ง ความกว้างหรือแคบ ตามลักษณะเป็นหรือตายของพื้นที่ซึ่งคือภูมิประเทศ อาศัยการวินิจฉัยต่อภูมิประเทศ กำหนดปริมาณจัดวางกำลังทหาร อาศัยปริมาณกำลังทหารทีทั้งสองฝ่ายอาจจะทุ่งเข้าไปในพื้นที่ ดำเนินการเปรียบเทียบ และจากนี้ก็กำหนดความมีชัยหรือพ่ายแพ้ได้
อีกนัยหนึ่งก็ว่า วินิจฉัย คือวินิจฉัยความใหญ่เล็กของพื้นที่ คำนวณ คือคำนวณความมากน้อยของทรัพย์ยากรวัตถุ ดังนี้ ความหมายของคำนี้ทั้งคำก็คืออาณาเขตพื้นที่ของทั้งสองฝ่ายไม่เท่ากัน ก่อให้เกิดการ “คำนวณ” คือทรัพยากรวัตถุที่แตกต่างกัน ทรัพยยากรวัตถุที่แตกต่างกันก่อให้เกิด “ปริมาณ” แห่งการระดมพลและการคงไว้ซึ่งกำลังพลที่แตกต่างกัน กำลังพลมากน้อยที่แตกต่างกัน ก็ก่อให้เกิดการ “เปรียบเทียบ” ทางกำลังพลที่ต่างกัน ความแตกต่างทางกำลัง ก็ก่อให้เกิดความแตกต่างกันแห่งชัยชนะและพ่ายแพ้ของคู่ศึกทั้งสอง
ความคิดของซุนวูต่าง ๆ ดังกล่าวมาข้างต้น มีคุณค่าที่แน่นอน หนึ่งในการชี้นำการรบ ทั้งนี้ก็สุดแท้แต่ว่า ใครจะสามารถยึดกุมความคิดของซุนวูได้อย่างแท้จริง และสามารถนำไปใช้โดยปรับให้เข้ากับสถานการณ์ที่ตนเผชิญอยู่นั้นๆ ได้อย่างเหมาะสมเป็นสำคัญ
บทที่ 3 ยุทธศาสตร์การรบรุก
อันหลักการทำศึกนั้น บ้านเมืองสมบูรณ์เป็นเอก บ้านเมืองบอบซ้ำเป็นรอง กองทัพสมบูรณ์เป็นเอก กองทัพบอบซ้ำเป็นรอง กองพลสมบูรณ์เป็นเอก กองพลบอบซ้ำเป็นรอง กองร้อยสมบูรณ์เป็นเอก กองร้อยบอบซ้ำเป็นรอง เหตุนี้ รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง ยังหาใช้ความยอดเยี่ยมในความยอดเยี่ยมไม่ มิต้องรบแต่สยบทัพข้าศึกได้ จึงจะเป็นความยอดเยี่ยมในความยอดเยี่ยม
ฉะนั้น การบัญชาทัพชั้นเอกคือชนะด้วยอุบาย รองมาคือชนะด้วยการทูต รองมาคือชนะด้วยการรบ เลวสุดคือการตีเมืองเป็นเรื่องสุดวิสัย เพราะการสร้างรถโล่ การเตรียมยุทโธปกรณ์ สามเดือนจึงแล้วเสร็จ การถมเนินเข้าตีเมือง ต้องอีกสามเดือนจึงลุล่วง แม่ทัพจักกลั่นโทสะมิได้ ทุ่มทหารเข้าตีดุจจอมปลวก ต้องล้มตายหนึ่งในสาม แต่เมืองก็มิแตก นี้คือความวิบัติจากการตีเมือง
ฉะนั้น ผู้สันทัดการบัญชาทัพ จักสยบทัพข้าศึกได้โดยมิต้องรบ จักยึดเมืองข้าศึกโดยมิต้องตี จักทำลายประเทศข้าศึกได้โดยมิต้องนาน จักครองปฐพีได้ด้วยชัยชนะอันสมบูรณ์ ดังนี้ กองทัพมิต้องเหน็ดเหนื่อยยากเข็ญ ก็ได้ชัยชนะอย่างสมบูรณ์ นี้คือกลวิธีแห่งการรุก
ฉะนั้น หลักการบัญชาทัพคือ มีสิบเท่าให้ล้อม มีห้าเท่าให้รุก มีหนึ่งเท่าให้แยก มีเท่ากันก็รบได้ มีน้อยกว่าก็เลี่ยงหนี มีไม่ทัดเทียม ก็หลบหลีก เหตุนี้ ด้อยกว่าข้าศึกยังขืนรบ ก็จักตกเป็นเชลยข้าศึกที่เข้มแข็ง
อันแม่ทัพนั้น คือผู้ค้ำจุนประเทศ ถ้ารอบคอบ บ้านเมืองจักเข้มแข็ง ถ้าบกพร่อง บ้านเมืองจักอ่อนแอ
ประมุขนำความวิบัติแก่กองทัพมีสาม ไม่รู้ว่ากองทัพรุกมิได้บัญชาให้รุก ไม่ได้รู้ว่ากองทัพถอยมิได้ก็บัญชาให้ถอย นี้เรียกว่าจำจองกองทัพ ไม่รู้เรื่องของสามทัพ แต่เข้าสอดแทรกกิจการของสามทัพ แม่ทัพนายกองก็สับสน ไม่ได้รู้อำนาจของสามทัพ แต่เข้าแทรกแซงการบัญชาของสามทัพ แม่ทัพนายกองก็สงสัย เมื่อแม่ทัพนายกองทั้งสับสนและสงสัย เจ้าครองแคว้นอื่นก็จะนำภัยมาสู่ นี้เรียกว่าก่อกวนกองทัพ ชักนำข้าศึกให้ชนะ
ฉะนั้น เราสามารถล้วงรู้ชัยชนะได้ห้าทาง ผู้รู้ว่าควรรบหรือไม่ควรรบจักชนะ ผู้เข้าใจการรบในภาวะกำลังมากหรือกำลังน้อยจักชนะ ฝ่ายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งชั้นบนและชั้นล่างจักชนะ ฝ่ายพร้อมรบบุกฝ่ายไม่พร้อมรบจักชนะ ฝ่ายแม่ทัพมีปัญญาประมุขไม่ยุ่งเกี่ยวจักชนะ ห้าทางนี้คือวิธีแห่งการล้วงรู้ชัยชนะ
ฉะนั้น จึงกล่าวว่า รู้เขารู้เรา ร้อยรบมิพ่าย ไม่รู้เขาแต่รู้เรา ชนะหนึ่งแพ้หนึ่ง ไม่รู้เขาไม่รู้เรา ทุกรบจักพ่าย
บทวิเคราะห์
ในบทนี้ ซุนวูได้อธิบายความคิดที่ทรงคุณค่าที่สุดอย่างหนึ่งคือ “รู้เขารู้เรา ร้อยรบมิพ่าย ไม่รู้เขาไม่รู้เรา ทุกรบจักพ่าย” ซึ่งชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจและความรับรู้ของผู้บัญชาการรบต่อสภาพข้าศึก และของทั้งสองฝ่าย กับชัยชนะและปราชัยของสงคราม เปิดเผยให้เห็นถึงกฎทั้วไปแห่งการชี้นำสงคราม เหมาเจ๋อตงเคยประเมินค่าสูงสุดต่อความคิดซุนวูข้อนี้ เขาได้กล่าวว่า “สงครามมิใช้สิ่งอาถรรพ์ หากยังคงเป็นการเคลื่อนไหวที่จำเป็นอย่างหนึ่งในโลกมนุษย์ ดังนั้น กฏของซุนวูที่ว่า “รู้เขารู้เรา ร้อยรบมิพ่าย” จึงยังคงเป็นสัจธรรมที่เป็นวิทยาศาสตร์อยู่”
ซุนวูมีความเห็นให้สู้รบกับข้าศึกในสภาพการณ์ที่เราเป็นฝ่ายเหนือกว่า ดัดค้านการสู้รบอย่างดันทุรังในสภาพการณ์ที่เราเป็นฝ่ายด้อยกว่า โดยเริ่มต้นจากจุดนี้ เขาได้เสนอบัญชาทัพที่ “มีสิบเท่าให้ล้อม มีห้าเท่าให้รุก มีหนึ่งเท่าให้แยก มีเท่ากันก็รบได้ มีน้อยกว่าให้เลี่ยงหนี มีไม่ทัดเทียมกันก็หลบหนี” เห็นว่าใช้วิธีการรบตามสัดส่วนที่แตกต่างของส่วนเปรียบเทียบทางกำลังทางทหารทั้งสองฝ่าย เขาเตือนว่า "ด้อยกว่าข้าศึกยังขืนรบ ก็จักตกเป็นเชลยข้าศึกที่เข้มแข็ง” กองทัพที่อ่อนกว่าข้าศึก หากเอาแต่รบอย่างดื้อรั้น ในที่สุดก็จะตกเป็นเชลยศึกที่เข็มแข็งกว่าแน่นอน
ในบทนี้ ซุนวูได้เสนอว่า “การบัญชาทัพชั้นเอกคือชนะด้วยอุบาย รองลงมาคือชนะด้วยการทูต รองมาคือชนะด้วยการรบ เลวสุดคือการเข้าตีเมือง” เห็นว่าการใช้อุบายในทางการเมืองและการทูตเอาชนะข้าศึกเป็นเรื่องที่เยี่ยมที่สุด
ควรชี้ให้เห็นว่า ในสงคราม “การเอาชนะด้วยอุบาย” “การเอาชนะด้วยการทูต” นั้น เป็นมาตรการสำคัญ นั้น เป็นมาตรการสำคัญอันจะขาดเสียมิได้ในการต่อสู้กับข้าศึก แต่ทั้งนี้มีแต่จะต้องประสานกับ “การเอาชนะด้วยการรบ” ซึ่งเป็นมาตรการทางทหารด้วยจึงจะสามารถขยายบทบาทของมันได้ โดยเนื้อแท้แล้วยังคงเป็น “สยบข้าศึกด้วยการรบ” อยู่นั้นเอง
ด้วยเหตุนี้ การที่ซุนวูถือ “สยบทัพข้าศึกโดยมิต้องรบ” เป็น “ความยอดเยี่ยมในความยอดเยี่ยม” และถือเป็นหลักการบัญชาทหารโดยทั่วไปนั้น ดูจะไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันซึ่งยากเหลือเกินที่จะ “เอาชนะด้วยอุบาย” หรือ “เอาชนะด้วยการทูต” ได้โดย ไม่มีกองทัพอันเกรียงไกรยืนตระหง่านอยู่เบื้องหลัง
ฉะนั้น การบัญชาทัพชั้นเอกคือชนะด้วยอุบาย รองมาคือชนะด้วยการทูต รองมาคือชนะด้วยการรบ เลวสุดคือการตีเมืองเป็นเรื่องสุดวิสัย เพราะการสร้างรถโล่ การเตรียมยุทโธปกรณ์ สามเดือนจึงแล้วเสร็จ การถมเนินเข้าตีเมือง ต้องอีกสามเดือนจึงลุล่วง แม่ทัพจักกลั่นโทสะมิได้ ทุ่มทหารเข้าตีดุจจอมปลวก ต้องล้มตายหนึ่งในสาม แต่เมืองก็มิแตก นี้คือความวิบัติจากการตีเมือง
ฉะนั้น ผู้สันทัดการบัญชาทัพ จักสยบทัพข้าศึกได้โดยมิต้องรบ จักยึดเมืองข้าศึกโดยมิต้องตี จักทำลายประเทศข้าศึกได้โดยมิต้องนาน จักครองปฐพีได้ด้วยชัยชนะอันสมบูรณ์ ดังนี้ กองทัพมิต้องเหน็ดเหนื่อยยากเข็ญ ก็ได้ชัยชนะอย่างสมบูรณ์ นี้คือกลวิธีแห่งการรุก
ฉะนั้น หลักการบัญชาทัพคือ มีสิบเท่าให้ล้อม มีห้าเท่าให้รุก มีหนึ่งเท่าให้แยก มีเท่ากันก็รบได้ มีน้อยกว่าก็เลี่ยงหนี มีไม่ทัดเทียม ก็หลบหลีก เหตุนี้ ด้อยกว่าข้าศึกยังขืนรบ ก็จักตกเป็นเชลยข้าศึกที่เข้มแข็ง
อันแม่ทัพนั้น คือผู้ค้ำจุนประเทศ ถ้ารอบคอบ บ้านเมืองจักเข้มแข็ง ถ้าบกพร่อง บ้านเมืองจักอ่อนแอ
ประมุขนำความวิบัติแก่กองทัพมีสาม ไม่รู้ว่ากองทัพรุกมิได้บัญชาให้รุก ไม่ได้รู้ว่ากองทัพถอยมิได้ก็บัญชาให้ถอย นี้เรียกว่าจำจองกองทัพ ไม่รู้เรื่องของสามทัพ แต่เข้าสอดแทรกกิจการของสามทัพ แม่ทัพนายกองก็สับสน ไม่ได้รู้อำนาจของสามทัพ แต่เข้าแทรกแซงการบัญชาของสามทัพ แม่ทัพนายกองก็สงสัย เมื่อแม่ทัพนายกองทั้งสับสนและสงสัย เจ้าครองแคว้นอื่นก็จะนำภัยมาสู่ นี้เรียกว่าก่อกวนกองทัพ ชักนำข้าศึกให้ชนะ
ฉะนั้น เราสามารถล้วงรู้ชัยชนะได้ห้าทาง ผู้รู้ว่าควรรบหรือไม่ควรรบจักชนะ ผู้เข้าใจการรบในภาวะกำลังมากหรือกำลังน้อยจักชนะ ฝ่ายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งชั้นบนและชั้นล่างจักชนะ ฝ่ายพร้อมรบบุกฝ่ายไม่พร้อมรบจักชนะ ฝ่ายแม่ทัพมีปัญญาประมุขไม่ยุ่งเกี่ยวจักชนะ ห้าทางนี้คือวิธีแห่งการล้วงรู้ชัยชนะ
ฉะนั้น จึงกล่าวว่า รู้เขารู้เรา ร้อยรบมิพ่าย ไม่รู้เขาแต่รู้เรา ชนะหนึ่งแพ้หนึ่ง ไม่รู้เขาไม่รู้เรา ทุกรบจักพ่าย
บทวิเคราะห์
ในบทนี้ ซุนวูได้อธิบายความคิดที่ทรงคุณค่าที่สุดอย่างหนึ่งคือ “รู้เขารู้เรา ร้อยรบมิพ่าย ไม่รู้เขาไม่รู้เรา ทุกรบจักพ่าย” ซึ่งชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจและความรับรู้ของผู้บัญชาการรบต่อสภาพข้าศึก และของทั้งสองฝ่าย กับชัยชนะและปราชัยของสงคราม เปิดเผยให้เห็นถึงกฎทั้วไปแห่งการชี้นำสงคราม เหมาเจ๋อตงเคยประเมินค่าสูงสุดต่อความคิดซุนวูข้อนี้ เขาได้กล่าวว่า “สงครามมิใช้สิ่งอาถรรพ์ หากยังคงเป็นการเคลื่อนไหวที่จำเป็นอย่างหนึ่งในโลกมนุษย์ ดังนั้น กฏของซุนวูที่ว่า “รู้เขารู้เรา ร้อยรบมิพ่าย” จึงยังคงเป็นสัจธรรมที่เป็นวิทยาศาสตร์อยู่”
ซุนวูมีความเห็นให้สู้รบกับข้าศึกในสภาพการณ์ที่เราเป็นฝ่ายเหนือกว่า ดัดค้านการสู้รบอย่างดันทุรังในสภาพการณ์ที่เราเป็นฝ่ายด้อยกว่า โดยเริ่มต้นจากจุดนี้ เขาได้เสนอบัญชาทัพที่ “มีสิบเท่าให้ล้อม มีห้าเท่าให้รุก มีหนึ่งเท่าให้แยก มีเท่ากันก็รบได้ มีน้อยกว่าให้เลี่ยงหนี มีไม่ทัดเทียมกันก็หลบหนี” เห็นว่าใช้วิธีการรบตามสัดส่วนที่แตกต่างของส่วนเปรียบเทียบทางกำลังทางทหารทั้งสองฝ่าย เขาเตือนว่า "ด้อยกว่าข้าศึกยังขืนรบ ก็จักตกเป็นเชลยข้าศึกที่เข้มแข็ง” กองทัพที่อ่อนกว่าข้าศึก หากเอาแต่รบอย่างดื้อรั้น ในที่สุดก็จะตกเป็นเชลยศึกที่เข็มแข็งกว่าแน่นอน
ในบทนี้ ซุนวูได้เสนอว่า “การบัญชาทัพชั้นเอกคือชนะด้วยอุบาย รองลงมาคือชนะด้วยการทูต รองมาคือชนะด้วยการรบ เลวสุดคือการเข้าตีเมือง” เห็นว่าการใช้อุบายในทางการเมืองและการทูตเอาชนะข้าศึกเป็นเรื่องที่เยี่ยมที่สุด
ควรชี้ให้เห็นว่า ในสงคราม “การเอาชนะด้วยอุบาย” “การเอาชนะด้วยการทูต” นั้น เป็นมาตรการสำคัญ นั้น เป็นมาตรการสำคัญอันจะขาดเสียมิได้ในการต่อสู้กับข้าศึก แต่ทั้งนี้มีแต่จะต้องประสานกับ “การเอาชนะด้วยการรบ” ซึ่งเป็นมาตรการทางทหารด้วยจึงจะสามารถขยายบทบาทของมันได้ โดยเนื้อแท้แล้วยังคงเป็น “สยบข้าศึกด้วยการรบ” อยู่นั้นเอง
ด้วยเหตุนี้ การที่ซุนวูถือ “สยบทัพข้าศึกโดยมิต้องรบ” เป็น “ความยอดเยี่ยมในความยอดเยี่ยม” และถือเป็นหลักการบัญชาทหารโดยทั่วไปนั้น ดูจะไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันซึ่งยากเหลือเกินที่จะ “เอาชนะด้วยอุบาย” หรือ “เอาชนะด้วยการทูต” ได้โดย ไม่มีกองทัพอันเกรียงไกรยืนตระหง่านอยู่เบื้องหลัง
บทที่ 2 การทำศึก
อันหลักแห่งการบัญชาทัพนั้น ต้องใช้รถเร็วพันคัน รถหุ้มหนังพันคัน พลรบสิบหมื่น ขนเสบียงพันลี้ ค่าใช้จ่ายในและนอกประเทศ ค่าใช้จ่ายการทูต ค่าซ่อมสร้างยุทโธปกรณ์ ค่ารถรบเสื้อเกราะ ต้องสิ้นเปลืองวันละพันตำลึงทองดังนี้ จึงจะเคลื่อนพลสิบหมื่นออกรบได้
เมื่อรบพึงชนะเร็ว ยืดเยื้อกำลังก็เปลี้ยขวัญทหารก็เสีย ตีเมืองจักไร้พลัง ทำศึกนอกประเทศนาน ในประเทศจักขาดแคลน เมื่อกำลังเปลี้ยขวัญทหารเสีย สูญสิ้นทั้งไพร่พลและเศรษฐกิจ เจ้าครองแคว้นอื่น จักฉวยจุดอ่อนเข้าบุกรุก แม้จะมีผู้เยื่ยมด้วยสติปัญญาก็สุดจะแก้ไขให้กลายดี
เคยฟังว่า ทำศึกพึงชนะเร็วแม้จะไม่ดีนัก แต่ไม่เคยเห็นว่า มีการทำศึกที่ชาญฉลาดทว่าต้องยืดเยื้อ ส่วนที่ว่าทำศึกยืดเยื้อเป็นผลดีแก่ประเทศชาติ ก็ไม่เคยมีมาก่อน ฉะนั้น ผู้มิรู้ผลร้ายแห่งการทำศึกอย่างถ่องแท้ ย่อมไม่สามารถรู้ผลดีแห่งการทำศึกอย่างถ่องแท้ ได้เช่นกัน
ผู้สันทัดในการบัญชาทัพ จักเกณฑ์พลมิซ้ำสอง ส่งเสบียงมิซ้ำสาม ใช้ยุทโธปกรณ์ประเทศตน เอาเสบียงจากข้าศึก อาหารของกองทัพจึงพอเพียง
ประเทศชาติยากจนเพราะส่งเสบียงไกลให้กองทัพ ส่งเสบียงไกล ราษฎรต้องลำเค็ญ ใกล้กองทัพของจักแพง ของแพงทรัพย์สินราษฎรจักขอดแห้ง เมื่อพระคลังร่อยหรอ ก็เร่งรีดภาษีไพร่พลสูญเสีย ทรัพย์สินสิ้นเปลือง ทุกครัวเรือนในประเทศจึงว่างเปล่า สมบัติราษฎรต้องสูญไปเจ็ดในสิบส่วน ทรัพย์สินของหลวงรถรบเสียหายม้าศึกอ่อนเปลี้ย เสื้อเกราะและเกาทัณฑ์ ของ้าวและโล่ดั้ง วัวควายและรถสัมภาระ ก็สูญไปหกในสิบส่วน
ฉะนั้น แม่ทัพผู้มีสติปัญญา พึงหาอาหารจากข้าศึก เอาข้าวข้าศึกหนึ่งจง เท่ากับของเราสิบจง เอาอาหารสัตว์หนึ่งสือ เท่ากับของเรายื่สิบสือ
ฉะนั้น เมื่อจะเข่นฆ่าข้าศึก พึงให้ไพร่พลโกรธแค้น เมื่อจักกวาดต้อนสินศึก พึงตั้งรางวัลไพร่พล ฉะนั้น ในศึกรถรบ เมื่อยึดรถรบข้าศึกได้กว่าสิบคัน พึงรางวัลผู้ยึดได้ก่อน แล้วให้เปลี่ยนธงบนรถ ขับร่วมในขบวนเรา พึงเลี้ยงดูเชลยให้ดี นี้ก็คือที่ว่ารบชนะข้าศึก เรายิ่งเข้มแข็ง
ฉะนั้น ทำศึกจึงสำคัญที่รบเร็ว ใช้สำคัญที่ยืดเยื้อ
ฉะนัน แม่ทัพผู้รู้การศึก จึงเป็นผู้กุมชะตากรรมของทวยราษฎร์ เป็นผู้บันดาลความสงบสุขหรือภยันตรายของประเทศชาติ
บทวิเคราะห์
ในบทนี้ ซุนวูได้เสนอความคิดรบชนะรวดเร็วที่ว่า “ทำศึกจึงสำคัญที่รวดเร็ว ใช้สำคัญที่ยืดเยื้อ” โดยเน้นหนักเริ่มต้นไปจากความสัมพันธ์ซึ่งต้องพึงพาอาศัยในระหว่างกำลังคน กำลังวัตถุและกำลังทรัพย์ อันนับเป็นการแสดงออกอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งการใช้ทัศนะวัตถุนิยมเรียบง่ายของเขาไปค้นคว้าสงคราม
ในยุคที่ซุนวูดำรงชีวิตอยู่ กำลังการผลิตของสังคมต่ำมาก การคมนาคมขนส่งไม่สะดวกเป็นอย่างยิ่ง เมื่อบวกกับขนาดของสงครามได้ขยายใหญ่ขึ้น เพืยงแต่ขยับตัวก็ “ต้องสิ้นเปลืองวันละพันตำลึงทอง” ถ้าหากปล่อยให้ยือเยื้อไปก็จะ “สูญสิ้นทั้งไพร่พลและเศรษฐกิจ” โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวลานั้น แคว้นต่างๆกำลังผนวกดินแดนกลืนกินกันอย่างดุเดือด ถ้าหากสงครามยืดเยื้อต่อไปไม่มีที่สิ้นสุด ก็จะเกิดสถานการณ์อันตรายซึ่ง “เจ้าครองแคว้นอื่นจักฉวยโอกาสเข้าบุกรุก” ได้ทุกเวลา ในสถาพเช่นนี้การที่ซุนวูคิดที่จะชนะเร็วก็มีเหตุผลที่แน่นอนของเขาอยู่ อย่างไรก็ดี การรบชนะเร็วหรือการรบชนะช้าก็ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่เราประเมินไว้แล้วว่า ฝ่ายเราควรจะทำอย่างไรกับสงครามให้มีประโยชน์กับเราให้มากที่สุด
เพื่อแก้ความขัดแย้งระหว่างความต้องการของสงครามและความยากลำบากในการส่งกำลังบำรุงของแนวหลัง ซุนวูได้เสนอหลักการ “เอาเสบียงจากข้าศึก” มีความเห็นในช่วงชิงแก้ปัญหาการส่งกำลังบำรุงในประเทศข้าศึกนั้นเอง ในขณะเดียวกัน เขายังเสนอความคิด “รบชนะข้าศึก เรายิ่งเข้มแข็ง” มีความเห็นว่าควรจะให้รางวัลแก่ไพร่พล ปฏิบัติต่อเชลยข้าศึกด้วยดี และใช้สินศึกมาเสริมเพิ่มกำลังของตนเองให้ใหญ่โตขึ้น ความคิดและหลักการเหล่านี้ ล้วนแต่มีข้อดีที่จะนำมาใช้ได้ทั้งสิ้น
ในตอนสุดท้ายของบทนี้ ซุนวูได้เน้นบทบาทอันใหญ่หลวงของแม่ทัพ นับว่าถูกต้อง แต่การที่เขาขยายบทบาทของ “แม้ทัพผู้รู้การศึก” ไปถึงขั้นว่า “เป็นผู้กุมชะตากรรมของทวยราษฎร์ เป็นผู้บันดาลความสุขหรือภยันตรายของประเทศชาติ” โดยไม่เห็นบทบาทของไพล่พลและทวยราษฎร์นั้น ก็ถือได้ว่าเป็นจุดอ่อน และเป็นการสะท้อนออกของทัศนะประวัติศาสตร์ที่ถือวีรชนเป็นผู้กำหนดทุกสิ่งทุกอย่างของเขา อันไม่ตรงกับความเป็นจริง
เมื่อรบพึงชนะเร็ว ยืดเยื้อกำลังก็เปลี้ยขวัญทหารก็เสีย ตีเมืองจักไร้พลัง ทำศึกนอกประเทศนาน ในประเทศจักขาดแคลน เมื่อกำลังเปลี้ยขวัญทหารเสีย สูญสิ้นทั้งไพร่พลและเศรษฐกิจ เจ้าครองแคว้นอื่น จักฉวยจุดอ่อนเข้าบุกรุก แม้จะมีผู้เยื่ยมด้วยสติปัญญาก็สุดจะแก้ไขให้กลายดี
เคยฟังว่า ทำศึกพึงชนะเร็วแม้จะไม่ดีนัก แต่ไม่เคยเห็นว่า มีการทำศึกที่ชาญฉลาดทว่าต้องยืดเยื้อ ส่วนที่ว่าทำศึกยืดเยื้อเป็นผลดีแก่ประเทศชาติ ก็ไม่เคยมีมาก่อน ฉะนั้น ผู้มิรู้ผลร้ายแห่งการทำศึกอย่างถ่องแท้ ย่อมไม่สามารถรู้ผลดีแห่งการทำศึกอย่างถ่องแท้ ได้เช่นกัน
ผู้สันทัดในการบัญชาทัพ จักเกณฑ์พลมิซ้ำสอง ส่งเสบียงมิซ้ำสาม ใช้ยุทโธปกรณ์ประเทศตน เอาเสบียงจากข้าศึก อาหารของกองทัพจึงพอเพียง
ประเทศชาติยากจนเพราะส่งเสบียงไกลให้กองทัพ ส่งเสบียงไกล ราษฎรต้องลำเค็ญ ใกล้กองทัพของจักแพง ของแพงทรัพย์สินราษฎรจักขอดแห้ง เมื่อพระคลังร่อยหรอ ก็เร่งรีดภาษีไพร่พลสูญเสีย ทรัพย์สินสิ้นเปลือง ทุกครัวเรือนในประเทศจึงว่างเปล่า สมบัติราษฎรต้องสูญไปเจ็ดในสิบส่วน ทรัพย์สินของหลวงรถรบเสียหายม้าศึกอ่อนเปลี้ย เสื้อเกราะและเกาทัณฑ์ ของ้าวและโล่ดั้ง วัวควายและรถสัมภาระ ก็สูญไปหกในสิบส่วน
ฉะนั้น แม่ทัพผู้มีสติปัญญา พึงหาอาหารจากข้าศึก เอาข้าวข้าศึกหนึ่งจง เท่ากับของเราสิบจง เอาอาหารสัตว์หนึ่งสือ เท่ากับของเรายื่สิบสือ
ฉะนั้น เมื่อจะเข่นฆ่าข้าศึก พึงให้ไพร่พลโกรธแค้น เมื่อจักกวาดต้อนสินศึก พึงตั้งรางวัลไพร่พล ฉะนั้น ในศึกรถรบ เมื่อยึดรถรบข้าศึกได้กว่าสิบคัน พึงรางวัลผู้ยึดได้ก่อน แล้วให้เปลี่ยนธงบนรถ ขับร่วมในขบวนเรา พึงเลี้ยงดูเชลยให้ดี นี้ก็คือที่ว่ารบชนะข้าศึก เรายิ่งเข้มแข็ง
ฉะนั้น ทำศึกจึงสำคัญที่รบเร็ว ใช้สำคัญที่ยืดเยื้อ
ฉะนัน แม่ทัพผู้รู้การศึก จึงเป็นผู้กุมชะตากรรมของทวยราษฎร์ เป็นผู้บันดาลความสงบสุขหรือภยันตรายของประเทศชาติ
บทวิเคราะห์
ในบทนี้ ซุนวูได้เสนอความคิดรบชนะรวดเร็วที่ว่า “ทำศึกจึงสำคัญที่รวดเร็ว ใช้สำคัญที่ยืดเยื้อ” โดยเน้นหนักเริ่มต้นไปจากความสัมพันธ์ซึ่งต้องพึงพาอาศัยในระหว่างกำลังคน กำลังวัตถุและกำลังทรัพย์ อันนับเป็นการแสดงออกอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งการใช้ทัศนะวัตถุนิยมเรียบง่ายของเขาไปค้นคว้าสงคราม
ในยุคที่ซุนวูดำรงชีวิตอยู่ กำลังการผลิตของสังคมต่ำมาก การคมนาคมขนส่งไม่สะดวกเป็นอย่างยิ่ง เมื่อบวกกับขนาดของสงครามได้ขยายใหญ่ขึ้น เพืยงแต่ขยับตัวก็ “ต้องสิ้นเปลืองวันละพันตำลึงทอง” ถ้าหากปล่อยให้ยือเยื้อไปก็จะ “สูญสิ้นทั้งไพร่พลและเศรษฐกิจ” โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวลานั้น แคว้นต่างๆกำลังผนวกดินแดนกลืนกินกันอย่างดุเดือด ถ้าหากสงครามยืดเยื้อต่อไปไม่มีที่สิ้นสุด ก็จะเกิดสถานการณ์อันตรายซึ่ง “เจ้าครองแคว้นอื่นจักฉวยโอกาสเข้าบุกรุก” ได้ทุกเวลา ในสถาพเช่นนี้การที่ซุนวูคิดที่จะชนะเร็วก็มีเหตุผลที่แน่นอนของเขาอยู่ อย่างไรก็ดี การรบชนะเร็วหรือการรบชนะช้าก็ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ที่เราประเมินไว้แล้วว่า ฝ่ายเราควรจะทำอย่างไรกับสงครามให้มีประโยชน์กับเราให้มากที่สุด
เพื่อแก้ความขัดแย้งระหว่างความต้องการของสงครามและความยากลำบากในการส่งกำลังบำรุงของแนวหลัง ซุนวูได้เสนอหลักการ “เอาเสบียงจากข้าศึก” มีความเห็นในช่วงชิงแก้ปัญหาการส่งกำลังบำรุงในประเทศข้าศึกนั้นเอง ในขณะเดียวกัน เขายังเสนอความคิด “รบชนะข้าศึก เรายิ่งเข้มแข็ง” มีความเห็นว่าควรจะให้รางวัลแก่ไพร่พล ปฏิบัติต่อเชลยข้าศึกด้วยดี และใช้สินศึกมาเสริมเพิ่มกำลังของตนเองให้ใหญ่โตขึ้น ความคิดและหลักการเหล่านี้ ล้วนแต่มีข้อดีที่จะนำมาใช้ได้ทั้งสิ้น
ในตอนสุดท้ายของบทนี้ ซุนวูได้เน้นบทบาทอันใหญ่หลวงของแม่ทัพ นับว่าถูกต้อง แต่การที่เขาขยายบทบาทของ “แม้ทัพผู้รู้การศึก” ไปถึงขั้นว่า “เป็นผู้กุมชะตากรรมของทวยราษฎร์ เป็นผู้บันดาลความสุขหรือภยันตรายของประเทศชาติ” โดยไม่เห็นบทบาทของไพล่พลและทวยราษฎร์นั้น ก็ถือได้ว่าเป็นจุดอ่อน และเป็นการสะท้อนออกของทัศนะประวัติศาสตร์ที่ถือวีรชนเป็นผู้กำหนดทุกสิ่งทุกอย่างของเขา อันไม่ตรงกับความเป็นจริง
บทที่ 1 ประมาณสถานการณ์
อันสงครามนั้น เป็นเรื่องสำคัญของประเทศชาติ เป็นแหล่งแห่งความเป็นความตาย เป็นเหตุแห่งการดำรงอยู่หรือดับสูญ จักไม่พินิจ พิเคราะห์มิได้ ฉะนั้น พึงวิเคราะห์จากห้าเรื่อง นำมาเปรียบเทียบเพื่อประเมิน ให้ถ่องแท้ในสภานะการณ์หนึ่งคือคุณธรรม สองคือลมฟ้าอากาศ สามคือภูมิประเทศ สี่คือแม่ทัพ ห้าคือกฎระเบียบ
ที่ว่าคุณธรรมคือ สิ่งที่ทำให้ทวยราษฎร์และเบื้องบนมีเจตนารมณ์ร่วมกัน ร่วมเป็นก็ได้ ร่วมตายก็ได้ ทวยราษฎร์มิหวั่นอันตราย
ที่ว่าล้มฟ้า ก็คือ สว่างหรือมืด หนาวหรือร้อน ฤดูนี้หรือฤดูนั้น
ที่ว่าภูมิประเทศ ก็คือ สูงหรือต่ำ ใกล้หรือไกล คับขันหรือราบเรียบ กว้างหรือแคบ เป็นหรือตาย
ที่ว่าแม่ทัพ ก็คือ สติปัญญา ศรัทธา เมตตา กล้าหาญ เข้มงวด
ที่ว่ากฎระเบียบ ก็คือ ระบบจัดกำลัง ระบบยศตำแหน่ง ระบบพลาธิการ
ทั้งห้าเรื่องนี้ แม่ทัพพึงรู้แจ้ง ผู้รู้จักชนะ ผู้ไม่รู้จักไม่ชนะ ในสถานการณ์ กล่าวคือ เจ้านายมีคุณธรรมหรือไม่? แม่ทัพสามารถหรือไม่? ฟ้าดินอำนวยหรือไม่? วินัยเข้มงวดหรือไม่? กองทัพเข้มเข็งหรือไม่? ทหารฝึกดีหรือไม่? การรางวัลลงโทษแจ่มชัดหรือไม่? เรารู้ฝ่ายแพ้ฝ่ายชนะได้จากนี้ แม่ทัพใดเชื่อแผนศึกเรา ใช้ก็จักชนะ ให้เอาตัวไว้ แม่ทัพใดไม่เชื่อแผนศึกเรา ใช้ก็จักแพ้ ให้ปลดออกไป เมื่อการประเมินผลดีเป็นที่รับฟัง ก็ให้สร้างพลานุภาพขึ้น เพื่อเป็นส่วนช่วยแผนศึก ที่ว่าพลานุภาพ ก็คือการปฎิบัติการตามสภาพอันจะก่อให้เกิดผลนั่นเอง
อันสงครามนั้น คือการใช้เล่ห์เพทุบาย ฉะนั้น รบได้ให้แสดงว่ารบไม่ได้ จะรุกให้แสดงไม่รุก ใกล้ให้แสดงว่าไกล ไกลให้แสดงใกล้ ให้ล่อด้วยผลประโยชน์ ให้ชิงเมื่อระส่ำระสาย ข้าศึกแน่นให้เตรียมรับ ข้าศึกแข็งให้หลีกเลี่ยง ข้าศึกโกรธง่ายให้ก่อกวน ข้าศึกยโสให้เหิมเกริม ข้าศึกสบายให้เหนื่อยล้า ข้าศึกกลมเกลียวให้แยกสลาย ให้จู่โจมเมื่อไม่ระวัง ให้รุกรานเมื่อไม่คาดคิด นี้คืออัจฉริยะของนักการทหาร อันจักกำหนดล่วงหน้ามิได้
การประเมินศึกในศาลเทพารักษ์ก่อนรบบ่งบอกชัยชนะ เพราะคำนวณผลได้มากกว่า การประเมินผลในศาลเทพารักษ์ก่อนรบบ่งบอกไม่ชนะ เพราะคำนวณผลได้น้อยกว่า คำนวณผลได้มีมากก็จะชนะ คำนวณผลได้มีน้อยก็แพ้ ถ้าไม่คำนวณก็จักไม่ปรากฏผล เราพิจารณาจากนี้ ก็ประจักษ์ในชัยชนะหรือพ่ายแพ้แล้ว
บทวิเคราะห์
บทที่ 1 ซุนวูได้อธิบายถึงความสำคัญของการค้นคว้าและการวางแผนสงคราม ตลอดจนได้วิเคราะห์เงือนไขการทำสงครามของคู่ศึก วินิจฉัยความมีชัยหรือพ่ายแพ้ และปัญหาบทบาทการบัญชาการของแม่ทัพในสงคราม เป็นต้น อันเรียกว่าได้เป็นปัญหาพื้นฐานของสงครามไว้อย่างมีเอกลักษณ์ของตนเอง
ซุนวูได้กล่าวเป็นคำแรกในบทแรกแห่งตำราพิชัยสงครามของตนว่า “อันการสงครามนั้น เป็นเรื่องสำคัญของชาติ เป็นแหล่งแห่งความเป็นความตาย เป็นเหตุแห่งการดำรงอยู่หรือดับสูญ จังไม่พินิจพิเคราะห์ไม่ได้” ซุนวูได้เน้นเป็นพิเศษในประเด็นการเปิดฉากการสงครามว่า จะต้องวิเคราะห์เงือนไขต่างๆของคู่ศึก และค้นคว้ากำหนดแผนการรบ ซุนวูเห็นว่าจะต้องวิเคราะห์และเปรียบเทียบทั้งสองฝ่ายอย่างจริงจัง จาก “คุณธรรม ลมฟ้า อากาศ ภูมิประเทศ แม่ทัพ กฎระเบียบ” อันเป็น 5 เรื่อง “เจ้านายมีคุณธรรมหรือไม่ แม่ทัพสามารถหรือไม่” “ฟ้าดินอำนายหรือไม่” “วินัยเข้มงวดหรือไม่” “กองทัพเข้มเเข็งหรือไม่” “ทหารฝึกดีหรือไม่” และ จากนี้จะสามารถคาดคะเนถึงความมีชัยและพ่ายแพ้ของสงครามได้ จึงเห็นได้ว่าซุนวูได้สร้างการวางแผนสงครามอยู่บนพื้นฐานของการยึดถือสภาพ ความเป็นจริงหรือวัตถุนิยมแบบเรียบง่าย แตกต่างกันขั้นรากเหง้ากับการวางแผนการรบโดยอาศัยการเสี่ยงทายเพื่อให้รู้ผล แพ้ชนะของสงครามแบบงมงาย อันเป็นวิธีการที่มิได้อยู่บนพื้นฐานและคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง
ในการอธิบายเงื่อนไขแห่งชัยชนะนั้น ซุนวูได้ยกเอา “คุณธรรม” มาไว้เป็นอันดับต้นของ “5 เรื่อง” เห็นว่าการที่กลุ่มผลประโยชน์ที่เกิดใหม่จะช่วงชิงให้ได้มาซึ่งชัยชนะของสงครามนั้น ต้องทำให้ได้ถึงขั้น “ทวยราษฎร์และเบื้องบนมีเจตนารมณ์ร่วมกัน” ดังนี้จึงจะสามารถทำให้ราษฎรและไพร่ผล “ร่วมเป็นก็ได้ ร่วมตายก็ได้ มิหวั่นอันตราย” การถือเอา “คุณธรรม” “ลมฟ้าอากาศ” “ถูมิประเทศ” “แม่ทัพ” “กฎระเบียบ” เป็นเงื่อนไขแห่งชัยชนะ
จะขยายบทบาทของแม่ทัพอย่างไรในวิถีดำเนินของสงครามเป็นเนื้อหาสำคัญ ประการหนึ่งที่ซุนวูได้อธิบายไว้ในหนังสือเล่มนี้ เขาเน้นว่าเมื่อแผนศึกได้กำหนดลงไปแล้ว แม่ทัพก็จะต้อง “ปฏิบัติตามสถาพอันจะก่อให้เกิดผล” เพื่อสร้างพลานุภาพอันเป็นผลดีแก่สงครามขึ้น
ซุนวูได้เสนอว่า”อันสงครามนั้น คือการใช้เล่ห์เพทุบาย” ซึ่งเป็นความเห็นในแง่ “การศึกมิหน่ายเล่ห์” เรียกร้องให้แม่ทัพสันทัดในการใช้มาตรการต่าง ๆ นานาปกปิดความมุ่งหมายของตนหลอกล่อข้าศึกให้ฉงน สร้างความเข้าใจผิดและการคิดไม่ถึงแก่ฝ่ายตรงข้าม เพื่อที่จะ “ให้จู่โจมเมื่อไม่ระวัง ให้รุกรบเมื่อไม่คาดคิด” “รุกกระหน่ำข้าศึกอย่างมิรั้งรอ”
การคำนวณศึกก่อนทำสงครามนั้น ต้องบ่งบอกถึงชัยชนะหรือแพ้ก่อน ที่ว่าได้ชัยชนะเพราะว่าประเมินแล้วผลได้มากกว่า ที่ว่าแพ้เพราะประเมินแล้วผลได้มีน้อยกว่า ต้องประเมินให้รู้ผลแพ้ชนะก่อนจึงค่อยรบ
การประเมินศึก นี้ถือกันว่าเป็นแม่บทของ “ตำราพิชัยสงความซุนวู” บทอื่นจะได้แจกแจงให้กว้างออกไปจาก บทที่ 1
ที่ว่าคุณธรรมคือ สิ่งที่ทำให้ทวยราษฎร์และเบื้องบนมีเจตนารมณ์ร่วมกัน ร่วมเป็นก็ได้ ร่วมตายก็ได้ ทวยราษฎร์มิหวั่นอันตราย
ที่ว่าล้มฟ้า ก็คือ สว่างหรือมืด หนาวหรือร้อน ฤดูนี้หรือฤดูนั้น
ที่ว่าภูมิประเทศ ก็คือ สูงหรือต่ำ ใกล้หรือไกล คับขันหรือราบเรียบ กว้างหรือแคบ เป็นหรือตาย
ที่ว่าแม่ทัพ ก็คือ สติปัญญา ศรัทธา เมตตา กล้าหาญ เข้มงวด
ที่ว่ากฎระเบียบ ก็คือ ระบบจัดกำลัง ระบบยศตำแหน่ง ระบบพลาธิการ
ทั้งห้าเรื่องนี้ แม่ทัพพึงรู้แจ้ง ผู้รู้จักชนะ ผู้ไม่รู้จักไม่ชนะ ในสถานการณ์ กล่าวคือ เจ้านายมีคุณธรรมหรือไม่? แม่ทัพสามารถหรือไม่? ฟ้าดินอำนวยหรือไม่? วินัยเข้มงวดหรือไม่? กองทัพเข้มเข็งหรือไม่? ทหารฝึกดีหรือไม่? การรางวัลลงโทษแจ่มชัดหรือไม่? เรารู้ฝ่ายแพ้ฝ่ายชนะได้จากนี้ แม่ทัพใดเชื่อแผนศึกเรา ใช้ก็จักชนะ ให้เอาตัวไว้ แม่ทัพใดไม่เชื่อแผนศึกเรา ใช้ก็จักแพ้ ให้ปลดออกไป เมื่อการประเมินผลดีเป็นที่รับฟัง ก็ให้สร้างพลานุภาพขึ้น เพื่อเป็นส่วนช่วยแผนศึก ที่ว่าพลานุภาพ ก็คือการปฎิบัติการตามสภาพอันจะก่อให้เกิดผลนั่นเอง
อันสงครามนั้น คือการใช้เล่ห์เพทุบาย ฉะนั้น รบได้ให้แสดงว่ารบไม่ได้ จะรุกให้แสดงไม่รุก ใกล้ให้แสดงว่าไกล ไกลให้แสดงใกล้ ให้ล่อด้วยผลประโยชน์ ให้ชิงเมื่อระส่ำระสาย ข้าศึกแน่นให้เตรียมรับ ข้าศึกแข็งให้หลีกเลี่ยง ข้าศึกโกรธง่ายให้ก่อกวน ข้าศึกยโสให้เหิมเกริม ข้าศึกสบายให้เหนื่อยล้า ข้าศึกกลมเกลียวให้แยกสลาย ให้จู่โจมเมื่อไม่ระวัง ให้รุกรานเมื่อไม่คาดคิด นี้คืออัจฉริยะของนักการทหาร อันจักกำหนดล่วงหน้ามิได้
การประเมินศึกในศาลเทพารักษ์ก่อนรบบ่งบอกชัยชนะ เพราะคำนวณผลได้มากกว่า การประเมินผลในศาลเทพารักษ์ก่อนรบบ่งบอกไม่ชนะ เพราะคำนวณผลได้น้อยกว่า คำนวณผลได้มีมากก็จะชนะ คำนวณผลได้มีน้อยก็แพ้ ถ้าไม่คำนวณก็จักไม่ปรากฏผล เราพิจารณาจากนี้ ก็ประจักษ์ในชัยชนะหรือพ่ายแพ้แล้ว
บทวิเคราะห์
บทที่ 1 ซุนวูได้อธิบายถึงความสำคัญของการค้นคว้าและการวางแผนสงคราม ตลอดจนได้วิเคราะห์เงือนไขการทำสงครามของคู่ศึก วินิจฉัยความมีชัยหรือพ่ายแพ้ และปัญหาบทบาทการบัญชาการของแม่ทัพในสงคราม เป็นต้น อันเรียกว่าได้เป็นปัญหาพื้นฐานของสงครามไว้อย่างมีเอกลักษณ์ของตนเอง
ซุนวูได้กล่าวเป็นคำแรกในบทแรกแห่งตำราพิชัยสงครามของตนว่า “อันการสงครามนั้น เป็นเรื่องสำคัญของชาติ เป็นแหล่งแห่งความเป็นความตาย เป็นเหตุแห่งการดำรงอยู่หรือดับสูญ จังไม่พินิจพิเคราะห์ไม่ได้” ซุนวูได้เน้นเป็นพิเศษในประเด็นการเปิดฉากการสงครามว่า จะต้องวิเคราะห์เงือนไขต่างๆของคู่ศึก และค้นคว้ากำหนดแผนการรบ ซุนวูเห็นว่าจะต้องวิเคราะห์และเปรียบเทียบทั้งสองฝ่ายอย่างจริงจัง จาก “คุณธรรม ลมฟ้า อากาศ ภูมิประเทศ แม่ทัพ กฎระเบียบ” อันเป็น 5 เรื่อง “เจ้านายมีคุณธรรมหรือไม่ แม่ทัพสามารถหรือไม่” “ฟ้าดินอำนายหรือไม่” “วินัยเข้มงวดหรือไม่” “กองทัพเข้มเเข็งหรือไม่” “ทหารฝึกดีหรือไม่” และ จากนี้จะสามารถคาดคะเนถึงความมีชัยและพ่ายแพ้ของสงครามได้ จึงเห็นได้ว่าซุนวูได้สร้างการวางแผนสงครามอยู่บนพื้นฐานของการยึดถือสภาพ ความเป็นจริงหรือวัตถุนิยมแบบเรียบง่าย แตกต่างกันขั้นรากเหง้ากับการวางแผนการรบโดยอาศัยการเสี่ยงทายเพื่อให้รู้ผล แพ้ชนะของสงครามแบบงมงาย อันเป็นวิธีการที่มิได้อยู่บนพื้นฐานและคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง
ในการอธิบายเงื่อนไขแห่งชัยชนะนั้น ซุนวูได้ยกเอา “คุณธรรม” มาไว้เป็นอันดับต้นของ “5 เรื่อง” เห็นว่าการที่กลุ่มผลประโยชน์ที่เกิดใหม่จะช่วงชิงให้ได้มาซึ่งชัยชนะของสงครามนั้น ต้องทำให้ได้ถึงขั้น “ทวยราษฎร์และเบื้องบนมีเจตนารมณ์ร่วมกัน” ดังนี้จึงจะสามารถทำให้ราษฎรและไพร่ผล “ร่วมเป็นก็ได้ ร่วมตายก็ได้ มิหวั่นอันตราย” การถือเอา “คุณธรรม” “ลมฟ้าอากาศ” “ถูมิประเทศ” “แม่ทัพ” “กฎระเบียบ” เป็นเงื่อนไขแห่งชัยชนะ
จะขยายบทบาทของแม่ทัพอย่างไรในวิถีดำเนินของสงครามเป็นเนื้อหาสำคัญ ประการหนึ่งที่ซุนวูได้อธิบายไว้ในหนังสือเล่มนี้ เขาเน้นว่าเมื่อแผนศึกได้กำหนดลงไปแล้ว แม่ทัพก็จะต้อง “ปฏิบัติตามสถาพอันจะก่อให้เกิดผล” เพื่อสร้างพลานุภาพอันเป็นผลดีแก่สงครามขึ้น
ซุนวูได้เสนอว่า”อันสงครามนั้น คือการใช้เล่ห์เพทุบาย” ซึ่งเป็นความเห็นในแง่ “การศึกมิหน่ายเล่ห์” เรียกร้องให้แม่ทัพสันทัดในการใช้มาตรการต่าง ๆ นานาปกปิดความมุ่งหมายของตนหลอกล่อข้าศึกให้ฉงน สร้างความเข้าใจผิดและการคิดไม่ถึงแก่ฝ่ายตรงข้าม เพื่อที่จะ “ให้จู่โจมเมื่อไม่ระวัง ให้รุกรบเมื่อไม่คาดคิด” “รุกกระหน่ำข้าศึกอย่างมิรั้งรอ”
การคำนวณศึกก่อนทำสงครามนั้น ต้องบ่งบอกถึงชัยชนะหรือแพ้ก่อน ที่ว่าได้ชัยชนะเพราะว่าประเมินแล้วผลได้มากกว่า ที่ว่าแพ้เพราะประเมินแล้วผลได้มีน้อยกว่า ต้องประเมินให้รู้ผลแพ้ชนะก่อนจึงค่อยรบ
การประเมินศึก นี้ถือกันว่าเป็นแม่บทของ “ตำราพิชัยสงความซุนวู” บทอื่นจะได้แจกแจงให้กว้างออกไปจาก บทที่ 1
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)